Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
21st Century skills
10 December 2018

4 คำถามเปลี่ยนทีมไม่เวิร์ค ให้กลายเป็นทีมเวิร์ค

เรื่อง The Potential ภาพ BONALISA SMILE

การทำงานร่วมกันเป็นทีมเวิร์ค ทักษะหนึ่งที่ต้องใช้คือ Collaborative skill

collaborative skill คือทักษะที่หมายรวมทั้งทักษะทางการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรอง ทักษะการเข้าสังคม เช่น มารยาทในการสนทนา เคารพความคิดเห็นผู้อื่น และ ทักษะทางอารมณ์ (emotional skill) เป็นต้น

แต่เป็นไปไม่ได้ที่ทุกคน ทุกความคิดเห็นจะลงรอยกันเรื่องวิธีแก้ปัญหาไปเสียหมด ทีมต้องผ่านการลองถูกผิดซ้ำแล้วซ้ำเล่า หรือเผชิญภาวะชะงักงันจากปัญหาการสื่อสารไม่ชัดเจน ความขัดแย้ง หรือตัดสินใจผิดพลาดได้ตลอดเวลา

แล้วจะทำอย่างไรให้ทีม ‘เวิร์ค’

ซัคเคอรี เฮอร์แมน (Zachary Herrman) อาจารย์ประจำภาคบัณฑิตวิทยาลัยคณะศึกษาศาสตร์แห่ง University of Pennsylvania กล่าวไว้ในบทความ A Strategy for Effective Student Collaboration ว่า

เมื่อหัวใจของการทำงานกลุ่มคือ แก้ปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยกัน ทีมต้องตอบคำถาม 4 ข้อนี้ให้ได้เสมอ

1.จุดประสงค์ของงานที่ทำอยู่คืออะไร

2.ผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร

3.ที่มาที่ไปของผลลัพธ์เป็นอย่างไร

4.เมื่องานเสร็จสิ้นลง คิดว่าอะไรที่ดี และอะไรควรแก้ไข

และที่สำคัญ

“ยอมรับธรรมชาติของความยุ่งเหยิงที่มากับงานกลุ่ม และไม่เข้าไปแทรกแซงการค้นหาคำตอบร่วมกันของทีม”

เรียนรู้วิธีฝึก Collaborative skill ในห้องเรียนและอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ COLLABORATIVE SKILL: เพราะปัญหายุคใหม่แก้ไม่ได้เพียงลำพัง สร้างห้องเรียนเป็นทีมเวิร์คเสียตั้งแต่ตอนนี้

Tags:

ครูคาแรกเตอร์(character building)เทคนิคการสอน4Csทักษะการร่วมงานกับผู้อื่น(collaborative skill)

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

BONALISA SMILE

Related Posts

  • 21st Century skills
    เห็น-ฟัง-รู้สึก-ลงลึกกับสถานการณ์จริง 4 เคล็ดลับสร้าง TEAMWORK ในห้องเรียน

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    อย่าให้ใครว่ามั่ว เช็คให้ชัวร์ก่อนแชร์ FAKE NEWS

    เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

  • 21st Century skills
    3 ห้องเรียนฝึกความคิดสร้างสรรค์ ที่ครูไม่ต้องอ่านตำราและเขียนกระดานหน้าห้อง

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    ในห้องเรียน ‘ความคิดสร้างสรรค์’ วัดกันได้ และไม่ต้องใช้คะแนนหรือเกรดเฉลี่ย

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skillsEducation trend
    MEDIA LITERACY: หยุดแชร์ข่าวปลอม ด้วยวิชา ‘เท่าทันสื่อ’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel