Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
21st Century skills
3 December 2018

อย่าให้ใครว่ามั่ว เช็คให้ชัวร์ก่อนแชร์ FAKE NEWS

เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

ทุกวันนี้เพียงแค่เปิดโทรศัพท์ก็มีข่าว กระแส เรื่องเด่นประเด็นร้อนมากมายให้เราเลือกอ่าน  บางครั้งเราก็อ่านโดยไม่คิดเลยว่านั่นเป็นข่าวจริง หรือข่าวปลอม เอริน วิลคีย์ โอห์ (Erin Wilkey Oh) ผู้อยู่เบื้องหลังเว็บไซต์ Common Sense Education เครือข่ายที่พูดเรื่องการเท่าทันสื่อโดยเฉพาะ ให้เคล็ดลับแยกข่าวจริงกับข่าวปลอมด้วย ‘คำถาม’ 5 ข้อ ดังนี้

  1. ใครเป็นคนเขียนบทความนี้? คำถามนี้จะช่วยให้นักเรียนหยุดคิดว่า บทความนี้ถูกเขียนขึ้นด้วย ‘บุคคล’ หนึ่ง ซึ่งหมายความว่ามันอาจเป็นทัศนคติส่วนตัว อันมาจากเหตุผล บริบท และภูมิหลังที่แตกต่างกัน
  2. ทำไมข้อความหรือบทความนี้จึงถูกส่งมา ทำไมเขาถึงเขียนมันขึ้น? คำถามนี้เปิดโอกาสให้เด็กๆ พิจารณาจุดประสงค์ของผู้เขียน ว่าเขียนขึ้นเพื่อ ให้ข้อมูล, สร้างความบันเทิง, โน้มน้าวให้เชื่อ หรือทั้งหมด? จากนั้นอาจถามต่อว่า บทความนี้ทำให้เด็กๆ หรือผู้อ่านรู้สึกอย่างไร เพื่อเปิดโอกาสให้พวกเขาตีความความตั้งใจของผู้เขียน
  3. บทความนี้เผยแพร่ที่ไหน? พื้นที่ที่ปล่อยย่อมสร้างบอกความน่าเชื่อถือในตัวเอง เช่น เผยแพร่ในเว็บไซต์ข่าวที่น่าเชื่อถือ, ถูกส่งกันต่อๆ มาในอีเมล, แชร์ต่อกันผ่านเฟซบุ๊ค ซึ่งทั้งหมดนี้สืบสาวกลับไปยังพื้นที่เผยแพร่ตั้งต้นได้หรือไม่
  4. ผู้เขียนใช้เทคนิคอะไรมาดึงความสนใจของผู้อ่าน? ในรูปแบบคลิปวิดีโอ, แอพพลิเคชั่น หรือแพลตฟอร์มอื่นในรูปแบบออนไลน์
  5. บทความนั้นสอดแทรกมุมมองอะไรเอาไว้บ้าง? เพราะทุกบทความย่อมมี ‘ข้อความระหว่างบรรทัด’ หรือทัศนคติบางอย่างที่ผู้เขียนต้องการจะโน้มน้าวให้ผู้อ่านเชื่อ แม้ว่าในบทความนั้นจะไม่ได้แสดงน้ำเสียงของผู้เขียน แต่ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ผู้อ่านต้องพึงรู้ว่ามันมีอยู่

อ่านเนื้อหาเพิ่มเติมได้ที่: MEDIA LITERACY: หยุดแชร์ข่าวปลอม ด้วยวิชา ‘เท่าทันสื่อ’

Tags:

ครูคาแรกเตอร์(character building)เทคนิคการสอน4Csความปลอดภัยไซเบอร์Media literacy

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

KHAE

นักวาดลายเส้นนิสัยดี(ย้ำว่าลายเส้น)ผู้ชอบปลูกต้นไม้และหลงไหลไก่ทอดเกาหลี

Related Posts

  • 21st Century skills
    เห็น-ฟัง-รู้สึก-ลงลึกกับสถานการณ์จริง 4 เคล็ดลับสร้าง TEAMWORK ในห้องเรียน

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    4 คำถามเปลี่ยนทีมไม่เวิร์ค ให้กลายเป็นทีมเวิร์ค

    เรื่อง The Potential ภาพ BONALISA SMILE

  • 21st Century skills
    3 ห้องเรียนฝึกความคิดสร้างสรรค์ ที่ครูไม่ต้องอ่านตำราและเขียนกระดานหน้าห้อง

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    ในห้องเรียน ‘ความคิดสร้างสรรค์’ วัดกันได้ และไม่ต้องใช้คะแนนหรือเกรดเฉลี่ย

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skillsEducation trend
    MEDIA LITERACY: หยุดแชร์ข่าวปลอม ด้วยวิชา ‘เท่าทันสื่อ’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel