Skip to content
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long Learning
  • Family
    Dear ParentsEarly childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily Psychology
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
Learning Theory
16 October 2019

สร้างวงจรการเรียนรู้ไม่รู้จบ จากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง

เรื่องและภาพ The Potential

หัวใจของการศึกษา คือ เรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง

การจะเข้าถึงความรู้อย่างแท้จริง ครูต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าไปมีประสบการณ์โดยตรง มุ่งเน้นการเรียนรู้ที่เด็กได้คิดเองทำเอง และสามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้กับชีวิตและการทำงานจริง

ครูสามารถสร้างการเรียนรู้แบบนี้ได้ผ่าน ‘ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์’ หรือ Experiential Learning Theory (ELT) โดย ดร.เดวิด เอ. โคล์บ (Dr.David A. Kolb) นักทฤษฎีการศึกษา

ผ่านวงจร 4 ขั้นตอนง่ายๆ ตามหลักการของ ELT  ภายใต้แนวคิดว่าคนเรามีรูปแบบการเรียนรู้อยู่ 4 โหมดซึ่งหมุนเป็นวงจร สลับสับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ได้แก่

Experiencing – เรียนรู้ข้อมูลผ่านการมีประสบการณ์และการลงมือทำ เน้นการเรียนรู้ที่เด็กได้คิดเองทำเอง

Reflecting – นำข้อมูลและประสบการณ์ที่ได้มาทบทวน ใคร่ครวญ เช่น จดบันทึก ประชุมกันในทีม

Thinking – คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ออกมาจากขั้นที่ 1 และ 2 สรุปออกมาเป็นแนวทางปฏิบัติ

Acting – ลงมือทำจากความรู้ใหม่ที่ได้ แล้วเรียนรู้ว่าสิ่งไหนควรทำ สิ่งไหนควรปรับปรุง

จากนั้นจะกลับเข้าสู่ขั้นตอนที่ 1 อีกครั้ง เป็นวงจรเช่นนี้ไปเรื่อยๆ

“เพราะโหมดการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นซ้ำ จะขยายความเข้าใจของเด็กได้ เด็กจะค้นพบว่าในทางปฏิบัติ จะเจอปัญหาอะไร และพบการประยุกต์ความรู้ใหม่ที่ทำได้หลากหลาย โดยการนำสิ่งที่เคยเรียนรู้ในสถานการณ์หนึ่งมาใช้ในอีกสถานการณ์”

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ EXPERIENTIAL LEARNING: 8 ข้อครูควรรู้ เมื่อจัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์

Tags:

ครูเทคนิคการสอนGrowth mindsetExperiential Learning Theory(ELT)

Author & Illustrator:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Related Posts

  • Growth & Fixed Mindset
    ง่ายเกินไปก็ไม่เรียนรู้ ‘ความยากลำบาก’ จึงเป็นหนึ่งในวิชาที่เราต้องเรียน

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา ภาพ บัว คำดี

  • Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)
    EF-GRIT-GROWTH MINDSET 3 บทความ ชวนพรินท์ให้ลูกและศิษย์อ่าน

    เรื่อง The Potential

  • Growth & Fixed Mindset
    ครูกับครู ครูกับพ่อแม่ ครูกับนักเรียน: สามพลังสร้าง GROWTH MINDSET

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา ภาพ บัว คำดี

  • Learning Theory
    ลงมือทำ-ใคร่ครวญ-วิเคราะห์-ลงมือทำซ้ำ สร้างวงจรการเรียนรู้ไม่รู้จบ

    เรื่องและภาพ The Potential

  • Growth & Fixed Mindset
    สอนให้เด็กรู้ศักยภาพของสมอง: ลบความเชื่อเรื่องโง่หรือฉลาดแต่กำเนิด เขาจะพัฒนาได้ด้วยตัวเอง

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา ภาพ บัว คำดี

  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel