Skip to content
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Learning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trend
  • Life
    Healing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/CrisisLife classroom
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
Family Psychology
20 November 2018

จง เถียง กับ ลูก

เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

การเถียงอย่างสร้างสรรค์ หรือ การโต้แย้งด้วยเหตุผล คือ ผลงานอันเยี่ยมยอดซึ่งเกิดจากทักษะในการคิดวิเคราะห์ เรียนรู้ที่จะแยกข้อมูลออกเป็นส่วนๆ คัดกรองและทดสอบซ้ำไปซ้ำมาว่ามันมีน้ำหนักเพียงพอต่อการโต้แย้งหรือไม่

เคล็ดลับง่ายๆ มีดังนี้

  • ทำบ้านให้เป็นที่ปลอดภัย เด็กๆ ได้รู้จักอารมณ์ตัวเอง ทุกอารมณ์สามารถยอมรับได้ แต่พฤติกรรมจากอารมณ์นั้นต้องมีขอบเขตเสมอ
  • เริ่มจากเรื่องที่เด็กชอบ เช่น หนัง,หนังสือ การโต้แย้งถึงจะสนุกและเชื่อมโยงง่าย
  • สอนให้รู้จักความแตกต่างระหว่าง ‘แสดงความคิดเห็น’ และ ‘เถียง’ โดยค่อยๆ ฝึกให้เด็กๆ อธิบายเหตุผลว่า “หนูคิดอย่างนี้เพราะอะไร” แทนที่จะพูดสั้นๆ ว่า “ก็หนูคิดอย่างนี้”
  • ทำให้ผิดหวังบ้าง เพราะเด็กๆ ไม่มีทางได้อย่างใจไปหมดทุกอย่าง เด็กๆ จะเรียนรู้และยอมรับการโต้แย้งที่ไม่เป็นไปตามที่คิด
  • พ่อแม่ ญาติ และครู ต้องฟังให้มากกว่าพูด ความคิดและเหตุผลต่างๆ ของเด็ก และควรถูกรับฟังเพื่อหาความรู้สึก จะได้รับรู้ถึงสิ่งที่เด็กให้คุณค่า ใครอยากรู้ว่าตัวเองนักฟังระดับไหนคลิก ที่นี่
  • ฝึกให้เด็กอ่านความหมายระหว่างบรรทัด เหตุผลที่ยกมาหนุนเป็นสิ่งสำคัญ แต่สิ่งที่ไม่ถูกนำขึ้นมาโต้เถียงก็สำคัญเช่นกัน เขาจะค่อยๆ สังเกต และอาจหยิบมันมาใช้ในคราวต่อไป
  • ให้เด็กได้ตัดสินใจเองในตอนท้าย เขาจะได้มีประสบการณ์เรื่องความสำเร็จและล้มเหลวเป็นของตัวเอง

ข้อควรจำ

“ถ้าอยากสอนให้ลูกไม่เชื่อคนง่าย พ่อแม่ก็ต้องให้มีเหตุผลที่ดีพอให้พวกเขาเชื่อใจได้ด้วย”

อ่านบทความเพิ่มเติมและเจาะลึกการเถียงอย่างสร้างสรรค์มากกว่านี่ได้ที่นี่ เป็นเด็กยิ่งต้อง ‘เถียง’ และเถียงอย่างสร้างสรรค์เพื่อเข้าใจตัวเองและคนอื่น

อ้างอิง:
อลิสัน โจนส์ (Alyson Jones) นักบำบัดและผู้เขียนหนังสือ M.O.R.E. A New Philosophy for Exceptional Living

Tags:

พ่อแม่คาแรกเตอร์(character building)4Cs

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • BookFamily Psychology
    การแบ่งปันอารมณ์ความรู้สึกในครอบครัวคือขุมพลังชีวิตของลูก

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    เป็นเด็กยิ่งต้อง ‘เถียง’ และเถียงอย่างสร้างสรรค์เพื่อเข้าใจตัวเองและคนอื่น

    เรื่อง ลีน่าร์ กาซอ

  • 21st Century skills
    คิดอย่างสร้างสรรค์ด้วยการทำงานของสมอง 2 ซีก

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • 21st Century skills
    3 สูตร(ไม่)สำเร็จของความคิดสร้างสรรค์ ทักษะสำคัญของปัจจุบันและอนาคต

    เรื่อง ลีน่าร์ กาซอ

  • 21st Century skills
    ถึงเวลาปลูก ‘ฟาร์มคิดสร้างสรรค์’ โลกต้องการเด็กตั้งคำถามมากกว่าทำตามคำสั่ง

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel