Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Family Psychology
23 August 2019

3 ขั้นตอนเช็คลูก ก่อนไปหาจิตแพทย์/นักจิตวิทยา

เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

การไปหาจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยา ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ ‘เม’ เมริษา ยอดมณฑป นักจิตวิทยาเด็กและครอบครัว เจ้าของเพจตามใจนักจิตวิทยา ให้สัมภาษณ์ไว้ว่า “ถ้าแม่(และพ่อ)ไม่ไหว หาตัวช่วยได้” แต่ถ้าบ้านไหนยังก้ำๆ กึ่งๆ คิดไม่ตกว่าจะไปหาหรือไม่ดี มี 3 วิธีที่คุณเม แนะนำให้คนในครอบครัวเช็คให้ชัวร์ก่อนมาหา 1.หาสาเหตุว่าทำไมลูกถึงไม่ฟังเรา เพราะเรา(พ่อแม่) คาดหวังเกินวัยไปหรือเปล่า 2.เช็คความสัมพันธ์ของเรากับลูกว่าช่วงนี้เป็นอย่างไร มีช่วงเวลาที่ดีมากพอไหม ถ้าไม่ ให้รีบสร้าง เพราะถ้าเด็กรู้สึกรักหรือรู้สึกดีกับใคร เขาจะฟัง 3.เช็คอาการทางกายว่ามีความผิดปกติอะไรหรือไม่ เพราะเด็กที่พัฒนาการล่าช้ามักประสบปัญหาในชีวิตประจำวัน “ถ้าเช็คสามข้อนี้แล้วยังไม่สามารถแก้ไขอะไรได้ พามาปรึกษานักจิตวิทยา/จิตแพทย์ได้ แต่ส่วนใหญ่ถ้าแก้แค่ข้อแรกกับข้อสองได้ ก็โอเคแล้ว”

อ่านบทความ เมริษา ยอดมณฑป: ‘นักจิตวิทยา’ เพื่อนแปลกหน้า ผู้เคียงข้างและรับฟัง ฉบับเต็มได้ ที่นี่

Tags:

พ่อแม่ปฐมวัยจิตวิทยา

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • How to enjoy life
    ณัฐวุฒิ เผ่าทวี: เศรษฐศาสตร์ความสุขในครอบครัว “ถ้าคนหนึ่งสุขที่สุด แล้วคนอื่นทุกข์อยู่หรือเปล่า”

    เรื่อง ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะรชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา

  • Family Psychology
    คุยกับนักศิลปะบำบัดเรื่องซึมเศร้าในเด็ก กับข้อสังเกต ทำไมเด็กพูดเสียงดังและไม่มีใครฟังใคร?

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดีอุบลวรรณ ปลื้มจิตร ภาพ พรภวิษย์ โพธิ์สว่าง

  • Family Psychology
    ฟังลูกบ้าง อย่าเพิ่งแปลงร่างเป็นหมาป่า

    เรื่อง ภาพ BONALISA SMILE

  • Family PsychologyLearning Theory
    4 SENSES เข้าใจวัยรุ่น : อะไรทำให้เขาอยากใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • Early childhoodLearning Theory
    EP.1: THE TWELVE SENSES ปรัชญาการเติบโตของมนุษย์ตั้งแต่ระดับ ‘เซลล์’ และ ‘โซล’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ พรภวิษย์ โพธิ์สว่างบัว คำดี

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel