Skip to content
พัฒนาการpublic spaceไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามgeneration gapการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long Learning
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
พัฒนาการpublic spaceไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามgeneration gapการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)
Creative learning
13 June 2019 60

คนไม่มีความรู้=คนไม่มีอำนาจ?

เรื่อง The Potential

“ถ้าเราอยากได้คะแนนตอนสอบ เราก็ต้องตอบตามที่ครูสอนเรานั่นแหละ”

สำหรับ ‘นิ้วกลม’ สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ ที่บอกว่าตัวเองเป็นผลผลิตของการศึกษาแห่งประเทศไทย – ความรู้คืออำนาจ ครูไม่ได้แค่ฉลาดหรือมีความรู้มากกว่าเรา แต่เขามีอำนาจมากกว่า 

อำนาจนั้นเกิดจากความที่รู้มากกว่า 

เพราะกว่าจะไต่ไปถึงความรู้ระดับสูงมากพอจนน่าเชื่อถือ คนๆ นั้นต้องผ่านอะไรหลายอย่าง 

ในทางกลับกันคนที่ไม่ได้ขึ้นไปอยู่บนนั้น กลับรู้สึกด้อยกว่า กลัวว่าความรู้ที่มีอยู่จะผิด และอำนาจที่มีอยู่จะน้อยลงไปด้วย 

การนิยามความรู้ตามระบบ ทำให้คนนอกวงจรกลายเป็นคนไม่รู้จริงไปหมด 

ความรู้สึกนี้ทำให้เกิดความสูงต่ำในโรงเรียน นักเรียนรู้สึกว่าไม่มีทางเท่ากับครูได้ 

“เพราะเรามีความถูกต้องที่แคบ ซึ่งจริงๆ แล้ว ความต่างไม่ได้แปลว่าเก่งกว่าหรือเก่งน้อยกว่า” 

แต่เพราะที่ผ่านมาเราให้ค่าว่า “ความรู้เท่ากับอำนาจ” หรือเปล่า

อ่านบทสัมภาษณ์ฉบับเต็ม “นิ้วกลม-สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ : ถ้าประเทศนี้ไม่มีโรงเรียน” คลิก 

Tags:

หนังสือCreative Deschoolingสราวุธ เฮ้งสวัสดิ์(นิ้วกลม)

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Related Posts

  • Family Psychology
    เล่าเรื่องอย่างใส่ใจใคร่ครวญ: พ่อแม่เข้าใจตัวเองมากเท่าไหร่ ยิ่งเข้าใจลูกมากเท่านั้น

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • Early childhoodBook
    THE HAPPIEST KIDS IN THE WORLD: อิสรภาพจากการได้เล่นอิสระ เคล็ดลับเด็กดัตช์แฮปปี้สุดๆ

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Creative learning
    ‘นิ้วกลม’ สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์: ถ้าประเทศนี้…ไม่มีโรงเรียน

    เรื่อง ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะรชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา

  • Creative learning
    นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์: การเรียนรู้คือเนื้อตัว คือการเดินทางที่คนอื่นไปแทนไม่ได้

    เรื่อง ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะรชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา

  • Healing the traumaBook
    CHILDHOOD DISRUPTED : บาดแผลในวัยเด็ก สาเหตุของความป่วยไข้เมื่อเติบโต

    เรื่อง ญาดา สันติสุขสกุล

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900