Skip to content
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
  • Creative Learning
    Life Long LearningUnique SchoolEveryone can be an EducatorUnique TeacherCreative learning
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
Life Long Learning
18 October 2019

การศึกษา ‘ป้า’ ออกแบบเองได้: ทองคำ เจือไทย นักวิจัยปูแสมที่เสกท้องร่องเป็นห้องเรียน

เรื่อง The Potential

ที่แม่กลอง ความรู้อยู่ที่ ‘ท้องร่อง’ ไม่ใช่ห้องเรียน

ทองคำ เจือไทย คุณป้านักวิจัยวัย 67 เชื่อว่าความรู้จริงๆ เกิดจากการลงมือทำ และพื้นที่เรียนรู้สำคัญคือ ชุมชน โดยเฉพาะถ้า… 

เริ่มจากความสงสัยว่าทำไมอาชีพจับปูแสมถึงหายไปจากชุมชน สู่การลงมือพาเด็กในโรงเรียนหาคำตอบแบบบ้านๆ ออกไปคุยกับคนจับปู ไปศึกษาชีวิตปู ไปดูว่าปูอยู่อย่างไร กินอะไร แล้วทำไมมันถึงหายไป

จากนั้นถอดบทเรียนจากข้อมูล วิเคราะห์ให้เห็นปัญหา นำพาไปสู่การรู้สาเหตุ ถอดรหัสเพื่อแก้ไข และในที่สุด…ปูแสมก็กลับบ้าน – แม่กลอง

ทั้งหมดทั้งมวลคือกระบวนการเรียนรู้ที่ช่วยสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับเด็กๆ ผ่านการลงมือทำ และไปสัมผัสประสบการณ์จริง โดยไม่ต้องเปิดตำรา

แล้วป้าได้อะไร? ป้าบอกว่า “นี่คือชีวิตของฉัน” ที่จะไม่ยอมอยู่กับที่และดักดาน

และนี่คือการศึกษาที่ (ป้า) ออกแบบเอง

Tags:

สิ่งแวดล้อมนักวิจัยทองคำ เจือไทยactive citizenGrowth mindsetGrit

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Related Posts

  • Creative learning
    หนีโควิดไปติดหาดกับอาหารเมนูหอยแซ่บๆ ที่บ้านมดตะนอย เกาะลิบง

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • ผ้าสบงและป้ายรณรงค์เชิงสัญลักษณ์ การลุกขึ้นมาจัดการป่าของเยาวชนบ้านหนองสะมอน

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Life Long Learning
    ทองคำ เจือไทย: คุณป้านักวิจัยผู้ตามหา ‘ปูแสม’ ที่หายไป

    เรื่อง รชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา ภาพ สิทธิกร ขุนนราศัย

  • Creative learningCharacter building
    ปันจักสีลัตแห่งบ้านทุ่ง จังหวัดสตูล กระบวนเรียนรู้ที่มาจากสถานการณ์จริง

    เรื่องและภาพ potential-test-user

  • Creative learningCharacter building
    วันหนึ่งฉันเดินเข้าป่าเลน เจอคุณปู่โกงกางและสัตว์น้ำตัวเล็กๆ

    เรื่อง The Potential

  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel