Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Education trend
8 July 2019

ล่วงละเมิดทางเพศแบบนี้ หนูไม่โอเค

เรื่อง The Potential ภาพ BONALISA SMILE

เพราะบางครั้งการสัมผัสเด็ก โดยเกิดจากความเอ็นดูหรือไม่เอ็นดู อาจไปสร้างปม-บาดแผลให้เด็กได้ ถ้าเด็กไม่รู้สึก ‘ยินยอม’ ตัวเลขกว่า 53 % บอกว่า ผู้กระทำความรุนแรง มักเป็นคนใกล้ตัวเด็ก คนรู้จักคุ้นเคย หรือบุคคลในครอบครัว

จึงอยากชี้ประเด็นว่า

1.เราทุกคน (โดยเฉพาะพ่อแม่และเด็ก) จะต้องสร้างวัฒนธรรมแห่งการเคารพเนื้อตัวและร่างกายของตนเอง

2.ให้เด็กเรียนรู้วิธีสื่อสาร รู้จักพูดปฏิเสธเป็น (กล้าพูดว่าไม่)

3.ผู้ใหญ่ที่แม้จะสัมผัสจากความเอ็นดู แต่หากเด็กพูดว่า ‘ไม่’ ก็ต้องเคารพคำปฏิเสธ

ซึ่งผลกระทบเรื่องนี้ อาจะส่งไปถึงระดับจิตใจ ฝังลึกเป็นปม ทำให้เด็กเกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัย อยู่ในภาวะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และรู้สึกถูกทรยศหักหลัง จากคนที่เขาไว้ใจหรือพ่อแม่ สอดคล้องกับคำที่หมอจิตแพทย์บอก “บางครั้งที่ผู้ใหญ่หอมแก้มด้วยความเอ็นดูรักใคร่ แต่ถ้าเด็กอึดอัดไม่ชอบใจจะฝืนเขาไม่ได้ ควรขออนุญาตเด็กก่อน ด้วยประโยคง่ายๆ ที่ว่า ‘ขอหอมแก้มได้ไหม?’ ‘ขอกอดได้ไหม?’ ถ้าเขาไม่อนุญาต ผู้ใหญ่ต้องเคารพ ถ้าพ่อแม่ทำแบบนี้ตั้งแต่ต้นเขาจะเข้าใจการปกป้องตัวเอง ถ้ามีใครมาจู่โจมเขาจะปฏิเสธได้ว่า ‘อย่าทำนะไม่ชอบ’”

อ่านบทความ คุกคามทางเพศในวัยเด็ก: ปม การละเมิด ถูกทรยศ และความเคารพในการปฏิเสธ ได้ที่นี่

Tags:

พ่อแม่คาแรกเตอร์(character building)จิตวิทยาเพศSexuality Education(เพศวิถีศึกษา)คุกคามทางเพศ (sexual harassment)

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

BONALISA SMILE

Related Posts

  • BookFamily Psychology
    การแบ่งปันอารมณ์ความรู้สึกในครอบครัวคือขุมพลังชีวิตของลูก

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • How to get along with teenager
    รับมือวัยรุ่นยุค SEXTING: สื่อสารให้เข้าใจเรื่องความปลอดภัยของตัวลูกเอง

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Family PsychologyLearning Theory
    4 SENSES เข้าใจวัยรุ่น : อะไรทำให้เขาอยากใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • How to get along with teenager
    ปราบ ‘อสูรร้าย’ ทำลายและทำร้ายใจเด็ก

    เรื่อง The Potential ภาพ BONALISA SMILE

  • Life classroom
    ทรอย ซีวาน: เพราะผมรักในเสียงเพลง ดนตรี และการเป็นเกย์

    เรื่อง ชลิตา สุนันทาภรณ์

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel