Skip to content
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Learning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trend
  • Life
    Healing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/CrisisLife classroom
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
วัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัย
Learning Theory
7 July 2020

Rich classroom climate mindset สภาพห้องเรียนที่มีบรรยากาศร่ำรวย

เรื่อง The Potential ภาพ ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

จัดบรรยากาศห้องเรียนให้น่าเรียนและมีผลลัพธ์สูง (high-performing classroom) ด้วยการใส่พลังการมีส่วนร่วม ความยอมรับนับถือ การฟัง การแลกเปลี่ยน ฯลฯ นอกจากจะดีต่อใจนักเรียนแล้ว ยังดีต่อใจครูอีกด้วย เพราะจะช่วยให้ชีวิตครูง่ายขึ้น มีปัญหาจากความประพฤติของนักเรียนน้อยลง

ปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมีอยู่ 4 ปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ ร่ำรวยการยอมรับ (affirmation) ร่ำรวยสภาพที่ตรงตามความต้องการของนักเรียน (relevancy) ร่ำรวยการผูกพัน (engagement) ตัวนักเรียนและร่ำรวยปฏิสัมพันธ์ (relationship) ห้องเรียนไหนที่มีปัจจัยดังกล่าวจะช่วยให้นักเรียนรู้สึกผ่อนคลายและรู้สึกปลอดภัย กล้าเรียนรู้แบบกล้าเสี่ยง ทั้งเสี่ยงเชิงวิชาการและเชิงพฤติกรรม รวมทั้งช่วยให้นักเรียนกล้าฝันในลักษณะของ ‘ฝันใหญ่’

ชุดความคิดนี้เริ่มจากการทำให้นักเรียนแต่ละคนรับรู้ว่า ครูและคนอื่นๆ ในชั้นเรียนรับรู้ตัวตนของนักเรียน รับรู้สิ่งที่นักเรียนมุ่งหวัง และรับรู้ความรู้สึกนึกคิดของนักเรียน โดยเครื่องมือทำให้เกิดการรับรู้นี้มี 3 ชิ้น คือ หนึ่ง – ความหมาย (relevance) ต่อนักเรียน สอง – เสียง (voice) ของนักเรียน และสาม – วิสัยทัศน์ (vision) ของนักเรียน

อ่านบทความฉบับเต็ม ที่นี่

Tags:

สอนเข้มเพื่อศิษย์ขาดแคลนRich classroomเทคนิคการสอน

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

นักวาดภาพที่ใช้ชื่อเล่นว่า ววววิน facebook, ig : wawawawin

Related Posts

  • Learning Theory
    Achievement mindset: เสริมสร้างทักษะ Grit ให้อยู่กับนักเรียน

    เรื่อง ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชครูใหม่ วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ภาพ ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

  • Learning Theory
    Achievement mindset: ชวนนักเรียนตั้งเป้าหมายสูง เคล็ดลับผลักดันให้นักเรียนประสบความสำเร็จ

    เรื่อง ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชครูใหม่ วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ภาพ ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

  • Learning Theory
    สร้างบรรยากาศแห่งความหวังในห้องเรียน ให้นักเรียนกล้าตั้งเป้าหมายและพยายามไปให้ถึง เชื่อมั่นว่าตนเรียนสำเร็จได้

    เรื่อง ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชครูใหม่ วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ภาพ ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

  • Learning Theory
    ชวนครูสร้างพื้นที่ปลอดภัย ช่วยให้นักเรียนกล้าเสี่ยงที่ผิดพลาด แล้วเขาจะเติบโต

    เรื่อง ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชครูใหม่ วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ภาพ ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

  • Learning Theory
    Rich classroom climate mindset: ชวนสร้างบรรยากาศเชิงบวกในห้องเรียน ให้นักเรียนรู้สึกว่าพวกเขาได้รับการยอมรับนับถือจากครูและเพื่อน

    เรื่อง ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชครูใหม่ วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ภาพ ณัฐวัตร์ สุพรรณกูล

  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel