Skip to content
ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)
  • Creative Learning
    Creative learningLife Long LearningEveryone can be an EducatorUnique Teacher
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Transformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent Brain
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)
Learning Theory
25 November 2019

‘ความรู้สึก’ ส่วนผสมหลักในการเรียนรู้ ประตูสู่การเรียนรู้ไม่รู้จบ

เรื่อง The Potential ภาพ PHAR

ถอดรหัสจากเกรต้า ธันเบิร์ก ทำไมเธอจึงลุกขึ้นมา act up และปลุกพลังมวลชนให้ลุกขึ้นมาต่อสู้เรื่องสิ่งแวดล้อมได้ทรงพลังขนาดนี้?

เหตุผลหนึ่งในนั้นก็เพราะเธอ(และเรา) รู้สึก เพราะมี passion กับมันอย่างลึกซึ้งและมากพอ และทั้งหมดนี้เป็นเรื่องเดียวกับประเด็นการเรียนรู้ อย่างตัดไม่ขาด

ข้อเท็จจริงทางประสาทสมองยืนยันว่า การเรียนรู้ที่ดีที่สุดเกิดขึ้นเมื่อสมองซีกหน้าทั้งสองข้าง ทั้งส่วนความรู้สึกและการคิดวิเคราะห์ ทำงานพร้อมกัน

ไม่ต้องให้งานวิจัยบอกก็ได้ แต่เคยมั้ยที่เรารู้สึกกับอะไรมากๆ ก็อยากเข้าไปค้นคว้ากับมัน, มี passion กับมัน, สงสัยกับมัน, บ้าบอไปกับมัน, ล้มลุกคลุกคลานไปกับมัน และเป็นเจ้า ‘ความรู้สึก’ นี่เองที่ทำให้เรารู้สึกอยากเป็นเจ้าของการเรียนรู้ด้วยตัวเอง อยากจะทำความรู้สึกกับมันโดยไม่ต้องมีใครบอก

ประเด็นนี้จริงจังขนาดที่ว่านำไปสู่การออกแบบการศึกษาทั่วโลกออกแบบสภาพแวดล้อมให้เด็กๆ ได้เรียนรู้อย่างมีความรู้สึก เช่น การเรียนรู้แบบ STEAM ของฟินแลนด์, การสร้าง making space ในหลายประเทศเช่น สิงคโปร์, การใช้ design thinking ในการศึกษาเพื่อให้เด็กเข้าอกเข้าใจประเด็นนั้นอย่างลึกซึ้งแล้วจึงสร้างนวัตกรรมมาแก้ไขปัญหานั้น

เจ้าความรู้สึกนี่สำคัญนะ อย่าดึงมันออกจากการเรียนรู้เลย

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ‘ความรู้สึก’ ส่วนผสมหลักเพื่อการเรียนรู้ ให้การมาโรงเรียนไม่ใช่แค่เรียนไปวันๆ

Tags:

เทคนิคการสอนความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สมองExperiential Learning Theory(ELT)STEAM

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

PHAR

ชื่อจริงคือ พัชชา ชัยมงคลทรัพย์ เป็นนักวาดรูปเล่น มีงานประจำคือเอ็นจีโอ ส่วนงานอดิเรกชอบทำกับข้าว

Related Posts

  • Social Issues
    เปิดเทอมใหม่ อย่าเพิ่งสอนวิชาการ เยียวยาเด็กและเพื่อนครูด้วยกันก่อน

    เรื่อง เพ็ญสินี ธิติธรรมรักษาณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ มานิตา บุญยงค์

  • Learning Theory
    Relational mindset: ‘ครูแสดงความเอาใจใส่ต่อศิษย์’ เทคนิคที่จะช่วยให้เด็กๆ เรียนรู้ได้ดีขึ้น

    เรื่อง ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชครูใหม่ วิมลศรี ศุษิลวรณ์ ภาพ เพชรลัดดา แก้วจีน

  • Learning Theory
    ‘ความรู้สึก’ ส่วนผสมหลักเพื่อการเรียนรู้ ให้การมาโรงเรียนไม่ใช่แค่เรียนไปวันๆ

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา ภาพ บัว คำดี

  • Character building
    ‘LEARNING HOW TO LEARN’ เรียนเพื่อเรียนรู้: คอร์สเรียนออนไลน์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลก

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Learning Theory
    สร้างวงจรการเรียนรู้ไม่รู้จบ จากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง

    เรื่องและภาพ The Potential

  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel