Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
21st Century skills
18 December 2018

3 คำยอดฮิตที่คุณครูใช้กระทุ้งบรรยากาศการคิดของนักเรียนได้ตลอดกาล

เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

คุณครูเคยเจอสถานการณ์ที่โจทย์ยากๆ ทำนักเรียนท้อแท้จนไม่ตอบคำถามมันซะดื้อๆ ไหม?

ครูหลายคนอาจยกธงขาว เฉลยคำตอบตัดปัญหาไป แต่นั่นไม่ทำให้นักเรียนคิด เจมส์ มาร์คัส บัค คุณครูจอมขบถที่ดร็อปจากโรงเรียนด้วยวัยเพียง 13 ปี ผู้เขียนหนังสือ Secrets of a Buccaneer-Scholar มี 3 คำยอดฮิต ที่ช่วยกระทุ้งความคิดให้เด็กๆ ยอมเปิดปากออกมาก่อนจนได้

“Huh?” “ฮะ?” หมายถึง – “พวกหนูเข้าใจหัวข้อนี้รึเปล่า”
– “ลองใช้วิธีอื่นอธิบายอีกครั้งได้ไหมจ๊ะ”
-“งงตรงไหนไหม”

“Really?” “จริงเหรอ?” หมายถึง -“ที่หนูอธิบายมานี่เป็นข้อเท็จจริงที่เชื่อถือได้รึเปล่า”
– “มีหลักฐานอะไรมาสนับสนุนไหมจ๊ะ”

“So?” “แล้วไงต่อ?” หมายถึง -“ใจความสำคัญคืออะไร”
-“เรื่องนี้ส่งผลอย่างไร”
-“เรื่องนี้ส่งผลกับใครบ้าง”

อ่านเพิ่มเติมได้ที่: กระตุ้นให้เด็กคิดวิเคราะห์ ครูต้องเลิกถามว่าเข้าใจไหมและไม่รีบเฉลยคำตอบ

ที่มา :เจมส์ มาร์คัส บัค (James Marcus Bach) คุณครูจอมขบถที่ดร็อปจากโรงเรียนด้วยวัยเพียง 13 ปีและศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจนกลายเป็นผู้จัดการอายุน้อยที่สุดในบริษัทแอปเปิ้ล คอมพิวเตอร์ ผู้เขียนหนังสือ Secrets of a Buccaneer-Scholar

Tags:

เทคนิคการสอน21st Century skillsการฟังและตั้งคำถามครู

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • Unique Teacher
    จุฑา พิชิตลำเค็ญ อาจารย์ที่ตั้งหลักว่า “You Teach Who You Are” จัดการตัวเองก่อน จากนั้นค่อยไปสอนคนอื่น

    เรื่อง คณพล วงศ์วิเศษไพบูลย์ ภาพ ณัฐชานันท์ กล้าหาญ

  • 21st Century skills
    PROBLEM BASED LEARNING: การเรียนรู้ที่เด็กสร้างความรู้ด้วยตัวเองที่ลำปลายมาศพัฒนา

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ KHAE

  • 21st Century skills
    กระตุ้นให้เด็กคิดวิเคราะห์ ครูต้องเลิกถามว่าเข้าใจไหมและไม่รีบเฉลยคำตอบ

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    ในห้องเรียน ‘ความคิดสร้างสรรค์’ วัดกันได้ และไม่ต้องใช้คะแนนหรือเกรดเฉลี่ย

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • Character building
    ที่ปรึกษาให้ตัวละครในนิยาย : วิธีระบายความเจ็บปวดโดยไม่ต้องเล่าแต่เข้าใจ

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ antizeptic

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel