Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Family Psychology
20 December 2020

เพราะไม่ว่าเป็นลูกคนที่เท่าไหร่ เราก็ต้องการความรักและความสนใจจากพ่อแม่เหมือนกัน

เรื่อง The Potential ภาพ PHAR

พ่อแม่จะรู้ไหมนะ ถูกเปรียบเทียบกับใครก็ไม่เจ็บและอึดอัด เท่าการเปรียบเทียบเรากับ…พี่น้องของตัวเอง ซึ่งเชื่อว่าเป็นปมในใจของคนที่มีพี่น้องหลายคน

การถูกเปรียบเทียบกับใครอื่นก็ว่าเจ็บแล้ว แต่ยิ่งถูกเปรียบเทียบกับพี่น้องท้องเดียวกัน บ้านเดียวกัน มันให้ทั้งความรู้สึกดีไม่พอ ไม่(กล้าจะ)มั่นใจ น้อยใจ ขมขื่น จะอิจฉาหรือรู้สึกกับพี่น้องมากก็ไม่ได้เพราะนี่คือคนในครอบครัวตัวเอง ซึ่งนี่แหละคือสิ่งที่เจ็บช้ำที่สุด

แต่ที่ซับซ้อนไปกว่านั้น บางครอบครัวก็พยายามอย่างถึงที่สุดแล้วที่จะเลือกใช้คำที่ถนอมน้ำใจลูกแต่ละคนมากที่สุด แต่เพราะอยู่ในบ้านที่มี ‘หลายคน’ ให้เปรียบเทียบ แม้ไม่ตั้งใจแต่บางจังหวะก็เผลอทิ่มแทงความรู้สึกของคนที่ ‘ทำแบบนั้นไม่ได้’ อยู่บ้างเหมือนกัน

การ์ตูนจาก PHAR ถอดความจากบทความหนึ่งในคอลัมน์ the untold stories คุณเม เมริษา ยอดมณฑป เจ้าของเพจ ตามใจนักจิตวิทยา ที่จะมาตบหลังตบไหล่ดูแลหัวใจวัยเด็กของใครหลายคน และชวนผู้ปกครองตั้งหลักด้วยว่า…

ลำดับการเกิดมีผลต่อบุคลิกภาพเป็นทุนเดิม เด็กแต่ละคนมักถูกผู้ปกครองคาดหวังและกำหนดบทบาทให้เป็น แต่…อยากให้ตั้งหลักให้มั่นไว้ว่า…ลูกแต่ละคน จะเป็นในแบบที่เค้าอยากเป็น และนี่คือ 5 ข้อเท็จจริงที่อยากให้ผู้ปกครองเข้าใจและยอมรับ

อ่านบทความได้ที่ ลำดับการเกิดที่แตกต่าง มาพร้อมความคาดหวังและภาระที่ต้องแบกรับไม่เท่ากัน

Tags:

ปม(trauma)การเลี้ยงลูกThe Untold Stories

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

PHAR

ชื่อจริงคือ พัชชา ชัยมงคลทรัพย์ เป็นนักวาดรูปเล่น มีงานประจำคือเอ็นจีโอ ส่วนงานอดิเรกชอบทำกับข้าว

Related Posts

  • Family Psychology
    Wednesday’s child : แค่ความรักที่พร่อง (ของพ่อแม่) ไม่ได้ทำให้เด็กสูญเสียคุณค่า

    เรื่อง เมริษา ยอดมณฑป ภาพ ninaiscat

  • Family Psychology
    ความเข้าใจผิดที่ส่งต่อกันมา EP.3 การแสดงออกซึ่งความรัก

    เรื่อง เมริษา ยอดมณฑป ภาพ ninaiscat

  • Early childhoodFamily Psychology
    ความเข้าใจผิดที่ส่งต่อกันมา EP.1 การขู่ การหลอก การแหย่ และการล้อเลียน

    เรื่อง เมริษา ยอดมณฑป ภาพ ninaiscat

  • Family Psychology
    ด้วยรัก ภาระ และบาดแผล จากการเติบโตในครอบครัวใหญ่ที่ต้องทำตามความต้องการของสมาชิกหลายคน

    เรื่อง เมริษา ยอดมณฑป ภาพ ninaiscat

  • Family Psychology
    ลำดับการเกิดที่แตกต่าง มาพร้อมความคาดหวังและภาระที่ต้องแบกรับไม่เท่ากัน

    เรื่อง เมริษา ยอดมณฑป ภาพ ninaiscat

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel