Skip to content
ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long Learning
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Education trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skills
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่
Family Psychology
6 December 2019

ดนตรีบำบัดสร้างจังหวะของลูกให้ตรงกับจังหวะของโลก

เรื่อง The Potential

ผลลัพธ์ของ ‘ดนตรี’ ไม่ใช่แค่ความเพลิดเพลิน แต่ดนตรีบำบัดในแนวทางมนุษยปรัชญาทำงานได้สองแบบคือ 1. พัฒนาการ 2. เยียวยา

หากพูดถึงจังหวะชีวิต ในทางมนุษยปรัชญา (anthroposophy) แบ่งความเป็นเด็กย่อยเป็น 3 ช่วง คือช่วงอายุ 0-7 ปี, 7-14 ปี, 14-21 ปี ซึ่งดนตรีและเสียงเพลงจะเข้าไปทำงานกับเด็กแต่ละช่วงวัยต่างกัน 

“เด็กคนหนึ่งเขามีปัญหาทางครอบครัว พ่อแม่แยกทางกัน ต่างคนต่างพยายามดึงลูกให้ไปอีกทาง เด็กจึงโตมาด้วยความรู้สึกไม่มั่นคง​ปลอดภัย​ ลักษณะท่าทางของเขา​ ก็จะไม่มั่นคง​ ไม่เฟิร์ม ตัวตนด้านในไม่แข็งแรง แตกสลาย เราจึงให้เด็กตีกลอง เพราะกลองมีความหนักแน่น มีจังหวะที่ดี คุณภาพเสียงของกลองจะให้ความรู้สึกหนัก มั่นคง ในการตีกลองกัน​ จะให้เด็กเริ่มจับจังหวะของกลองให้ได้  และพัฒนาไปจนถึงรูปแบบจังหวะต่างๆ​ ที่ยากและซับซ้อนมากขึ้น​ ซึ่งมันจะส่งผลไปถึงจังหวะชีวิตของเขา ความแน่วแน่มั่นคงของกลองจะทำให้เด็กรู้สึกเฟิร์มขึ้น และสร้างฟอร์มที่ดีขึ้นมาใหม่ได้”

นี่คือตัวอย่างหนึ่งที่ ครูมัย – ณภัทร ชัยสุบรรณ์กนก นักดนตรีบำบัดในแนวทางมนุษยปรัชญาและครูสอนดนตรีในโรงเรียนวอลดอร์ฟ ออกแบบดีไซน์วิธีการโดยใช้ดนตรีเป็นเครื่องมือในการพัฒนาและเยียวยาให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละคน

อ่านบทสัมภาษณ์เพิ่มเติมได้ ดนตรีบำบัด: ไม่ใช่แค่ฟังแต่ร้องมันออกมา ให้ท่วงทำนองเยียวยา เสียงเพลงสร้างพัฒนาการชีวิต

Tags:

จิตวิทยาการศึกษาแนววอลดอร์ฟ(Waldorf)ดนตรีบำบัดณภัทร ชัยสุบรรณ์กนกพ่อแม่

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Related Posts

  • Family Psychology
    ดนตรีแบบไหน เหมาะกับวัยลูก

    เรื่องและภาพ The Potential

  • Family Psychology
    ดนตรีบำบัด: ไม่ใช่แค่ฟังแต่ร้องมันออกมา ให้ท่วงทำนองเยียวยา เสียงเพลงสร้างพัฒนาการชีวิต

    เรื่อง รชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา ภาพ สิทธิกร ขุนนราศัย

  • Learning Theory
    วอลดอร์ฟ 100 ปี: การศึกษามนุษยปรัชญาที่ต้องการสร้าง ‘จินตภาพ’ และ ‘ความสร้างสรรค์’ มากกว่า ‘ความจำ’

    เรื่องและภาพ ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Family Psychology
    “ไม่ต้องมีพ่อแม่ที่ดี มีแค่พ่อแม่ที่ธรรมดา” หมอโอ๋ เลี้ยงลูกนอกบ้าน

    เรื่อง รชนีกร ศรีฟ้าวัฒนาทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ ภาพ สิทธิกร ขุนนราศัย

  • Early childhoodLearning Theory
    EP.1: THE TWELVE SENSES ปรัชญาการเติบโตของมนุษย์ตั้งแต่ระดับ ‘เซลล์’ และ ‘โซล’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ พรภวิษย์ โพธิ์สว่างบัว คำดี

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel