Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
How to get along with teenager
1 November 2019

เปิดใจ-รับฟัง ช่วยวัยรุ่นแก้ปัญหาอย่างนักจิตวิทยาโรงเรียน

เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

คุณเชื่อไหมว่า วัยรุ่นเป็นวัยที่เต็มไปด้วยสารพัดปัญหาชีวิตมากที่สุด ? – ไม่จริงหรอก เพียงแต่วัยนี้เขามีปัญหาเร็วกว่าตามจังหวะโลกที่เร็วกว่ามาก  ‘นีท’ เบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์ นักจิตวิทยาโรงเรียน บอกว่า เราไม่สามารถเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับเด็ก แล้วบอกว่าปัญหามันแค่นี้เอง

“วัย 12-15 คือวัยที่สมองส่วนหน้าหรือสมองส่วนเหตุผล ยังทำงานไม่เต็มที่เท่ากับสมองส่วนกลางที่ทำงานด้านอารมณ์ เมื่อปัญหาเข้ามา เขาอาจยังไม่รู้วิธีแก้ พ่อแม่ ครู และคนใกล้ชิดแค่เริ่มต้นจากความเข้าใจ ไม่พูดว่า “ทำไมแค่นี้ทำไม่ได้” 

“อย่าคิดว่าเขาแก้ปัญหาเองได้ เขาคือเด็กที่แค่เปลี่ยนจากประถมไปมัธยมเท่านั้นเอง” 

และนี่คือ 4 ขั้นตอนเปิดใจ รับฟังวัยรุ่น โดยไม่ตัดสิน – 4 ภูมิคุ้มกันป้องกันซึมเศร้า แบบนักจิตวิทยาโรงเรียน

อ่านสัมภาษณ์เพิ่มเติมนักจิตวิทยาโรงเรียนได้: ที่นี่

Tags:

ซึมเศร้าวัยรุ่นจิตวิทยาการฟังและตั้งคำถามการจัดการอารมณ์นักจิตวิทยาครูแนะแนว

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • Creative learning
    “วิชาทักษะแห่งความสุข” มะขวัญ วิภาดา อาจารย์ที่พาไปเข้าใจความสุขบนโลกที่เศร้าลง

    เรื่อง กรกมล ศรีวัฒน์ ภาพ ณัฐสุชา เลิศวัฒนนนท์

  • Life classroom
    อกหักครั้งนี้ ฉันมีเธอเป็นดั่งครู

    เรื่องและภาพ KHAE

  • Life classroom
    PERFECTIONISM อย่าหวดวัยรุ่นด้วยความสมบูรณ์แบบอีกเลย

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • Life classroom
    BE KIND TO YOURSELF : ใจดีกับตัวเองบ้าง…วัยรุ่น

    เรื่องและภาพ SHHHH

  • Life classroom
    เปลี่ยนโรค เปลี่ยว เหงา ซึมเซา เป็นโลกใหม่: 5 วิธีช่วยให้วัยรุ่นรู้สึกดีกับตัวเอง

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel