Skip to content
การศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacy
  • Creative Learning
    Life Long LearningUnique SchoolEveryone can be an EducatorUnique TeacherCreative learning
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
การศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacy
Family Psychology
26 April 2019

เพราะทำผิดเท่ากับโดนลงโทษ ลูกจึงโกหก

เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวไว้ว่า จริงๆ แล้ว พฤติกรรมโกหกอาจไม่มีจริงในวัยเด็ก เพราะเด็กไม่ได้มีความเข้าใจว่าโกหกคืออะไร  เขาจึงต้องแสดงออกโดยการไม่พูดความจริง เพราะคิดว่าทำแบบนี้พ่อแม่จะชอบและพอใจ

ซึ่งแน่นอนว่าการพูดไม่จริง เป็นพฤติกรรมที่ไม่ควรทำ แต่เมื่อเด็กทำไปแล้ว พ่อแม่ควรแสดงให้เขารู้ว่าเรารู้ ด้วยท่าทีที่สงบ นิ่ง เหมือนหลายๆ เรื่อง เพื่อทำให้ลูกรู้สึกปลอดภัย แม้ว่าเราจะจับได้

ฉะนั้นวิธีรับมือเมื่อลูกโกหกที่ดีที่สุดคือการไม่ถามว่าทำไม ไม่คาดคั้น ไม่ซ้ำเติม บอกเขาตรงๆ ว่า ‘ไม่อยากให้ทำแบบนี้’ แนะนำวิธีที่ลูกสามารถพูดความจริงกับเราได้ รวมถึงหมั่นทบทวนตัวเองอีกด้วย

อ่านบทความเพิ่มได้ ที่นี่

Tags:

ปฐมวัยวินัยเชิงบวกการลงโทษ

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • Early childhoodEF (executive function)
    “อุ้มหนูหน่อย” = ลูกกำลังเสียเซลฟ์ พ่อแม่สร้างตัวตนให้ลูกได้ผ่านการเลี้ยงดู

    เรื่อง เพ็ญสินี ธิติธรรมรักษา ภาพ ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Early childhoodBook
    THE HAPPIEST KIDS IN THE WORLD: อิสรภาพจากการได้เล่นอิสระ เคล็ดลับเด็กดัตช์แฮปปี้สุดๆ

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • How to get along with teenager
    ติ่งก็รักของติ่ง ทำไมพ่อแม่ไม่ฟังและไม่พยายามเข้าใจ?

    เรื่อง The Potential ภาพ BONALISA SMILE

  • Learning Theory
    เก็บความเชื่อเก่าเข้ากรุ แค่ครู ‘แคร์เด็ก’ วินัยในห้องเรียนก็เกิด

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • Learning Theory
    เพราะครูห้ามและไม่เอาใจใส่ วินัยจึงไม่เกิดในห้องเรียน

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel