Skip to content
ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์
  • Creative Learning
    Life Long LearningUnique SchoolEveryone can be an EducatorUnique TeacherCreative learning
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์
Early childhood
31 July 2018

5 วิธีฝึกลูกให้รู้จัก โกรธ เศร้า เหงา กลัว

เรื่อง ภาพ บัว คำดี

5 วิธีฝึกลูกให้รู้จักความโกรธ เศร้า เหงา กลัว

1.บอก ‘ชื่อ’ ความรู้สึก เช่น ถ้าลูกนอนอยู่และบอกว่าเหนื่อยจนยอมให้คุณเลือกเสื้อผ้าให้ เป็นโอกาสดีที่คุณจะแนะนำให้เขารู้จักความรู้สึกที่เรียกว่า ‘หมดแรง’

2.เข้าใจปัญหาของเขา เป็นกองหนุนด้านอารมณ์ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้ว่า ต่อให้รู้สึกแย่แค่ไหนเขาก็จะผ่านมันไปได้ เช่น บอกเขาว่า ความรู้สึกท้อระหว่างพยายามทำสิ่งใหม่เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้

3.ช่วยหาทางออก ลองพูดคุยกับเด็กๆ ถึงไอเดียในการจัดการความรู้สึกตัวเอง ช่วยกันสร้างจุดที่ตัวเขาจะรู้สึกสงบและร่วมกันฝึกทักษะการจัดการอารมณ์บ่อยๆ

4.มองข้ามการกระทำ อะไรที่ผ่านแล้วก็ให้ผ่านไป ใส่ใจสิ่งที่เด็กๆ รู้สึกมากกว่าท่าทีที่เขาแสดงออกมา ลองเปลี่ยนการลงโทษเป็นความเห็นอกเห็นใจในความรู้สึกของพวกเขาดูสิ

5.หาวิธีสื่อสารใหม่ๆ การปล่อยให้เด็กๆ บ่นหรือสั่งได้ทุกอย่างตามใจอาจทำให้พวกเขาไม่สนใจอารมณ์บูดๆ ที่เกิดขึ้น ลองสอนวิธีที่จะทำให้เขาสื่อสารความรู้สึกในแบบที่ต่างจากเดิม เช่น อาจถามเขาว่า “หนูคิดว่าควรพูดขอความช่วยเหลือยังไงดีคะ”

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : ปล่อยให้ลูก โกรธ เศร้า เหงา กลัว เขาจะได้เติบโตทั้งตัวและหัวใจ

ที่มา : เจนนิเฟอร์ อันเดอร์วู้ด (Jennifer Underwood) ผู้เขียนบล็อกเกี่ยวกับการเลี้ยงเด็กวัยรุ่นในเว็บไซต์ SexandtheSilly.com

Tags:

พ่อแม่ปฐมวัยคาแรกเตอร์(character building)การจัดการอารมณ์พัฒนาการทางอารมณ์ความกลัว (Fear)

Author:

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • Creative learning
    เจ้าหญิงคาราเต้: ศิลปะเป็นเรื่องของทุกคน และต้องมีไว้เพื่อหล่อเลี้ยงหัวใจ

    เรื่อง ขวัญชนก พีระปกรณ์

  • Early childhoodLearning Theory
    EP.1: THE TWELVE SENSES ปรัชญาการเติบโตของมนุษย์ตั้งแต่ระดับ ‘เซลล์’ และ ‘โซล’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ พรภวิษย์ โพธิ์สว่างบัว คำดี

  • 21st Century skills
    คิดอย่างสร้างสรรค์ด้วยการทำงานของสมอง 2 ซีก

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • Early childhoodBook
    เลี้ยงลูกด้วยเสียงดนตรี: เพลงสร้างจินตนาการและพัฒนาสมองได้จริง

    เรื่อง รชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา

  • Character building
    คาแรกเตอร์ดี ลูกมีได้ ไม่ต้องจ่าย เรียนได้กับพ่อแม่

    เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel