Skip to content
โฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brain
  • Creative Learning
    Creative learningLife Long LearningUnique SchoolEveryone can be an EducatorUnique Teacher
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Character building21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learning
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
โฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brain
Character building
3 September 2018

‘เจ้าหนูจำไม’ ความสงสัยนำไปสู่การเรียนรู้ไม่สิ้นสุด

เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

“อันนั้นคืออะไรคะ” “ทำไมอันนี้ต้องเป็นอย่างนี้ครับ” คำถามซ้ำๆ หลายๆ รอบของลูก พ่อแม่อาจมองว่าน่ารำคาญแต่ถ้าเข้าใจลูกสักนิด ก็จะรู้ว่าเด็กๆ กำลังเรียนรู้

‘ความอยากรู้อยากเห็น’ หรือ CQ ย่อมาจาก Curiosity Quotient เป็นคุณลักษณะที่มีคุณค่ามากขึ้นเรื่อยๆ เพราะช่วยสร้างความมั่นใจและลดความกลัวจากการไม่รู้

ทำไม CQ จึงสำคัญพอๆ กับ IQ – ความฉลาดทางปัญญา และ EQ – ความฉลาดทางอารมณ์

โทมัส ชาโมร์โร-พรีมูซิค (Tomas Chamorro-Premuzic) ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาธุรกิจ University College London และ Columbia University รวมทั้งเป็นคณะทำงาน Harvard’s Entrepreneurial Finance Lab เขียนบทความเรื่อง ‘Curiosity is as Important as Intelligence’ บอกว่า คนที่มีซีคิวสูงเป็นคนชอบถามคำถาม ชอบพูดคุยเพื่อสร้างสัมพันธ์กับผู้คน ชอบเปิดประสบการณ์ใหม่ เห็นความแปลกใหม่เป็นเรื่องน่าตื่นเต้น เลยเบื่อง่ายหากต้องทำอะไรซ้ำซากจำเจ ทำให้ชอบคิด มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถคิดแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ แตกต่างจากไอคิวที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการเรียนรู้ การทำความเข้าใจองค์ความรู้และหลักการต่างๆ แต่ขาดปฏิสัมพันธ์กับผู้คน

และพ่อแม่สามารถสนับสนุนให้ลูกมี CQ ได้ ด้วยการตอบคำถามเขา แต่ไม่ได้ตอบอย่างเบ็ดเสร็จ ควรตอบเพื่อให้เขาได้เรียนรู้ต่อ

ตอบอย่างไร คลิกอ่านรายละเอียดได้ที่นี่ CQ: CURIOSITY QUOTIENT ความอยากรู้อยากเห็นที่นำไปสู่การเรียนรู้และอยู่รอด

Tags:

คาแรกเตอร์(character building)ความสงสัยใคร่รู้(Curiosity)

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

KHAE

นักวาดลายเส้นนิสัยดี(ย้ำว่าลายเส้น)ผู้ชอบปลูกต้นไม้และหลงไหลไก่ทอดเกาหลี

Related Posts

  • 21st Century skills
    INITIATIVE: ริเริ่มสร้างสรรค์โดยไม่มีใครร้องขอ แก้ปัญหาไม่ต้องรอคนจ้ำจี้จ้ำไช

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Character building
    เรากลายเป็นคนที่ ‘ไม่ตั้งคำถาม’ ไปตั้งแต่เมื่อไรกัน

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • 21st Century skills
    อย่าให้ใครว่ามั่ว เช็คให้ชัวร์ก่อนแชร์ FAKE NEWS

    เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

  • 21st Century skillsEducation trend
    MEDIA LITERACY: หยุดแชร์ข่าวปลอม ด้วยวิชา ‘เท่าทันสื่อ’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Character building
    CQ: CURIOSITY QUOTIENT ความอยากรู้อยากเห็นที่นำไปสู่การเรียนรู้และอยู่รอด

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel