Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Relationship
1 November 2018

HURTING YOURSELF = HURTING YOUR KID แม่เจ็บ ลูกยิ่งเจ็บ

เรื่อง The Potential ภาพ SHHHH

ทำร้ายตัวเอง = ทำร้ายลูก

“เด็กๆ จะอ่อนไหวเป็นพิเศษกับอารมณ์ของพ่อแม่” สเตฟานี สมิธ (Stephanie Smith) นักจิตวิทยาคลินิก กล่าว

“ไม่ได้หมายความว่าพ่อแม่ไม่ควรแสดงอารมณ์ออกมา แต่สิ่งที่สำคัญกว่าคือวิธีจัดการอารมณ์ตัวเองให้เด็กๆ เห็น”

ความเครียดที่ไม่ได้รับการผ่อนคลายจะส่งผลต่อวิธีปฏิสัมพันธ์กับเด็กๆ และความรู้สึกของพวกเขา ทั้งยังสร้างนิสัยไม่ดีในครอบครัวได้ง่าย

สถานการณ์จะดีขึ้นทันทีเมื่อพ่อแม่พยายามสงบจิตใจตัวเองลง เด็กๆ เองก็จะเรียนรู้วิธีรับมือความเครียดด้วยการเฝ้าดูพ่อแม่

คริสติน เนฟฟ์ (Kristin Neff) ศาสตราจารย์ด้านวัฒนธรรมและการพัฒนามนุษย์จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส ผู้หยิบเรื่อง การเมตตาตนเอง (Self-Compassion) ขึ้นมาพูดเป็นครั้งแรก บอกว่า

“ความเห็นอกเห็นใจตนเองจะมอบดินแดนแสนสงบ เป็นที่หลบภัยจากทะเลที่เต็มไปด้วยอารมณ์ของการตัดสินใจไม่ว่าจะในแง่บวกหรือลบก็ตาม”

ผลการศึกษาหนึ่งพบว่า ในกลุ่มวัยรุ่นที่มีปัญหาด้านพัฒนาการ พ่อแม่ที่มีความเห็นใจตัวเองจะมีแนวโน้มระดับความเครียดและอาการซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่พ่อแม่เข้มงวดและลงโทษตัวเองเสมอ

อ่านรายละเอียดมากว่านี้ และ 5 วิธีที่พ่อแม่จะใจดีกับตัวเองได้ที่  ไม่ผิดหรอกหากพ่อแม่จะกอดตัวเองบ้าง 

Tags:

พ่อแม่จิตวิทยาความเข้าอกเข้าใจ(empathy)การจัดการอารมณ์พัฒนาการ

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

SHHHH

Related Posts

  • How to enjoy life
    ณัฐวุฒิ เผ่าทวี: เศรษฐศาสตร์ความสุขในครอบครัว “ถ้าคนหนึ่งสุขที่สุด แล้วคนอื่นทุกข์อยู่หรือเปล่า”

    เรื่อง ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะรชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา

  • BookFamily Psychology
    การแบ่งปันอารมณ์ความรู้สึกในครอบครัวคือขุมพลังชีวิตของลูก

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • How to enjoy lifeBook
    DESIGNING YOUR LIFE: ปัญหาที่แก้ไม่ได้ไม่ใช่ปัญหา แต่เป็นสถานการณ์ไม่ต่างกับ ‘แรงโน้มถ่วง’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Family Psychology
    ไม่ผิดหรอกหากพ่อแม่จะกอดตัวเองบ้าง

    เรื่อง ลีน่าร์ กาซอ

  • Life classroom
    PERFECTIONISM อย่าหวดวัยรุ่นด้วยความสมบูรณ์แบบอีกเลย

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel