Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Learning Theory
25 December 2020

6 คำถามสำหรับครู-โค้ช ชวนเด็กถอดบทเรียนหลังทำกิจกรรมเพื่อกดเซฟการเรียนรู้

เรื่อง The Potential

คำถามเป็นเครื่องมือหรืออาวุธที่ดีที่สุดในการสร้างการเรียนรู้

ที่ผ่านมาเรามักเข้าใจว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากการสั่งสอน เราจะมีคำพูดมากมาย มีความรู้หรือประสบการณ์มากมายในการสั่งสอนคนรุ่นใหม่ บอกให้ทำแบบนั้นแบบนี้

แต่จริงๆ แล้ว การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นผ่านการลงมือทำนั้น ต้องวางเงื่อนไขหรือเปิดโอกาสให้เยาวชนได้มีประสบการณ์ก่อน ซึ่งทำให้เขาได้ลองผิด ลองถูก และแก้ปัญหา สุดท้ายแล้วทักษะจะเกิดขึ้นในระหว่างทางที่เขาลงมือทำ จะเนียนเข้าไปอยู่ในเนื้อในตัว จากนั้นคุณครู โคช หรือพี่เลี้ยงค่อยตั้งคำถามให้เขาได้ทบทวนประสบการณ์ ทบทวนความรู้สึก และทบทวนบทเรียนและการเรียนรู้ ความรู้ที่เขาได้จากการทำกิจกรรมในครั้งนั้น

นี่คือ 6 คำถามสำหรับ ครู-โคช ชวนเด็กใคร่ครวญ (Reflection) หลังทำกิจกรรม หรือมีประสบการณ์จากการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำเหล่านี้ก็จะเป็นทักษะการตั้งคำถาม ซึ่งจำเป็นมากสำหรับการช่วยให้น้องเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่เขาทำ คำถามที่ดีจะช่วยให้เขาชื่นชมตัวเองได้ว่าที่เขาผ่านประสบการณ์มานั้น ผ่านมาได้อย่างไร

ทำให้ท้ายที่สุดแล้วเขาได้เห็นศักยภาพที่เขามีติดตัวอยู่แต่ไม่เคยมองเห็นมันมาก่อน แล้วคำถามที่ดีมันจะช่วยเสริมพลังให้เขานำศักยภาพนี้มาใช้บ่อยๆ

บทความฉบับเต็ม คลิก

Tags:

โคชความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถาม

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Related Posts

  • Learning Theory
    สื่อสารกันอย่างสันติ: ครูกับเด็กเป็นมนุษย์เท่ากันในห้องเรียน

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • How to enjoy lifeFamily Psychology
    หยุดทำร้ายใจด้วยคำพูด เริ่มต้นกันใหม่ด้วยการสื่อสารอย่างสันติ

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี ภาพ บัว คำดี

  • Transformative learning
    HEAR STRATEGY: เทคนิคง่ายๆ ฝึกทักษะการ ‘ฟัง’ ให้กับเด็กๆ

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • Transformative learning
    ‘THEORY U’ การฟัง 4 ระดับ: ลองเช็ค คุณ ‘ฟัง’ ระดับไหน

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • RelationshipTransformative learning
    ‘ณัฐฬส วังวิญญู’ โปรดใช้วิจารณญาณในการฟัง-ถาม-เข้าใจอย่างลึกซึ้ง

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดีทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel