Skip to content
ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)
  • Creative Learning
    Creative learningLife Long LearningEveryone can be an EducatorUnique Teacher
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Transformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent Brain
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)
Education trend
23 December 2020

Learning Analytic: วิธีวาร์ปไปแก้ปัญหาการศึกษาด้วยเทคโนโลยี

เรื่อง The Potential

เรามี ‘วิธีการเรียนรู้’ หรือ learning style ไม่เหมือนกัน บางคนชอบเรียนผ่านการอ่าน บางคนผ่านการฟัง บางคนคนเรียนรู้ผ่านการใช้ร่างกาย บางคนเรียนรู้ผ่านการดูและจดจำ

จะดีแค่ไหนถ้า ‘ครู’ รู้ทัน และจัดองค์ประกอบการเรียนเฉพาะคน รู้จักกับ ‘Learning Analytic’ ระบบการวิเคราะห์สไตล์การเรียนเฉพาะบุคคล ทางลัดในการติดตั้งทักษะให้นักเรียน โดยนพ.ก้องเกียรติ เกษเพ็ชร์ เลขาธิการมูลนิธิสดศรี – สฤษดิ์วงศ์

– การถ่ายทอดทักษะ soft skills เป็นเรื่องยาก ถ่ายทอดอย่างไรดี?

– แม้ครูตั้งใจจะทำเช่นนั้น แต่ครูไม่มีข้อมูล หรือ ตัวช่วยเพียงพอว่า เด็กแต่ละคนเหมาะที่จะเรียนรู้แบบไหน เครื่องมือนี้จึงจะเป็นเครื่องมือที่รวบรวม ‘learning style’ ของเด็ก และให้ครูมี ‘ข้อมูล’ จัดสภาพการเรียนรู้ที่เหมาะกับเค้า

– ที่ต่างประเทศมี open badges ระบบเก็บชุดประสบการณ์ แล้วแปลสิ่งนี้ไปเป็น ‘ทักษะ’ เช่น เราทำงานพาร์ทไทม์มา 3 ปี ระบบก็จะเก็บ ‘ทักษะ’ เหล่านี้ไปใช้ในการสมัครงานได้!

Tags:

คาแรกเตอร์(character building)เทคนิคการสอนGeneration of Innovatorนพ.ก้องเกียรติ เกษเพ็ชร์Learning Analyticครู

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Related Posts

  • 21st Century skills
    Learning Analytic ระบบวิเคราะห์สไตล์การเรียนรู้เฉพาะบุคคล ช่วยครูวิเคราะห์แผนการสอนว่ากำลังถ่ายทอดทักษะอะไรให้ผู้เรียน: นพ.ก้องเกียรติ เกษเพ็ชร์ (1)

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดีเพ็ญสินี ธิติธรรมรักษา

  • 21st Century skills
    3 ห้องเรียนฝึกความคิดสร้างสรรค์ ที่ครูไม่ต้องอ่านตำราและเขียนกระดานหน้าห้อง

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skills
    ในห้องเรียน ‘ความคิดสร้างสรรค์’ วัดกันได้ และไม่ต้องใช้คะแนนหรือเกรดเฉลี่ย

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • 21st Century skillsEducation trend
    MEDIA LITERACY: หยุดแชร์ข่าวปลอม ด้วยวิชา ‘เท่าทันสื่อ’

    เรื่อง ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Character building
    PROJECT-BASED LEARNING ทักษะมาก่อน คะแนนจะตามไป

    เรื่อง บุญชนก ธรรมวงศา

  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel