Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Early childhood
24 May 2018

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำก่อนตัดสินใจโพสต์รูปของลูกลง SOCIAL MEDIA

เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

สิ่งที่พ่อแม่ควรทำก่อนตัดสินใจโพสต์รูปของลูกลง Social Media:

  • ขออนุญาตลูกก่อนโพสต์ เมื่อลูกโตพอที่จะบอกความรู้สึก หรือแสดงความคิดเห็นได้
  • เลือกรูปที่ลูกใส่เสื้อผ้าปิดมิดชิด เหมาะสม
  • ตั้งค่า social media เป็น privacy เห็นกันเฉพาะกลุ่ม
  • ปิด location
  • เขียนบรรยายภาพด้วยถ้อยคำที่ให้เกียรติลูก สุภาพ และเหมาะสม
  • คุ้มครองข้อมูลส่วนตัวของลูกให้เป็นความลับ
  • ที่สำคัญคือ ทุกรูปที่โพสต์ลง social media ไปแล้วจะไม่สามารถเรียกคืน หรือควบคุมได้

ทุกรูปที่โพสต์ลงโซเชียลมีเดียไปแล้วจะไม่สามารถเรียกคืนหรือควบคุมได้ ไม่ว่าพ่อแม่จะลบออกหน้าโซเชียลมีเดียของตัวเอง ก็ไม่อาจแน่ใจได้ว่าคนอื่นจะไม่ได้รูปของลูกเรา

ดังนั้น พ่อแม่จะต้องคิดพิจารณาให้ดี ว่ารูปนี้จะเกิดโทษกับลูกในอนาคตหรือไม่ เช่น การโพสต์รูปของลูกที่อาจส่งผลให้ลูกอับอายในอนาคต หรือ คนอื่นนำรูปลูกเราไปโพสต์ต่อ ด้วยข้อความที่เป็นเท็จ และไม่เหมาะสม เป็นต้น

Tags:

ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกรsharentingปฐมวัยโซเชียลมีเดียความปลอดภัยไซเบอร์

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

บัว คำดี

เติบโตมากับเพลงป็อปแดนซ์ยุค 2000 เริ่มเป็นติ่งวงการ k-pop ในวัยมัธยม มีเพลงการ์ตูนดิสนีย์เป็นพลังใจในทุกช่วงวัยของชีวิต

Related Posts

  • Movie
    Social Dilemma พลังการเก็บข้อมูล digital footprint ที่กำลังหลอกหลอนเรา

    เรื่อง พิมพ์พาพ์ ภาพ พิมพ์พาพ์

  • Early childhoodEF (executive function)
    “อุ้มหนูหน่อย” = ลูกกำลังเสียเซลฟ์ พ่อแม่สร้างตัวตนให้ลูกได้ผ่านการเลี้ยงดู

    เรื่อง เพ็ญสินี ธิติธรรมรักษา ภาพ ณิชากร ศรีเพชรดี

  • Family Psychology
    “ไม่ต้องมีพ่อแม่ที่ดี มีแค่พ่อแม่ที่ธรรมดา” หมอโอ๋ เลี้ยงลูกนอกบ้าน

    เรื่อง รชนีกร ศรีฟ้าวัฒนาทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะ ภาพ สิทธิกร ขุนนราศัย

  • How to get along with teenager
    DON’T WORRY ‘ไอจี’ ไม่ใช่วายร้าย

    เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

  • Family Psychology
    ทำไมพ่อกับแม่ถึงชอบแชร์เรื่องของหนู?

    เรื่อง กนกอร แซ่เบ๊

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel