กด 😮:
เมื่อคุณร้องไห้ แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘โอ๋บ้าง ดุให้เงียบบ้าง’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ที่วิตกกังวล’ (Anxiety)
แม่ที่วิตกกังวล เติบโตมาจากเด็กที่ขาดการดูแลและไม่ได้รับการตอบสนองที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ ตอนเป็นเด็กจึงมักมีพฤติกรรมชอบตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับผู้ดูแล ว่าความสัมพันธ์นี้ปลอดภัยหรือไม่ ผ่านการสำรวจสีหน้า ท่าที น้ำเสียงของผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดการรับรู้ที่ไวและสร้างความหวาดระแวงไม่ว่าผู้ดูแลจะดีหรือร้ายก็ตาม
แม่ที่วิตกจะใส่ใจความรู้สึกตัวเองเป็นหลัก เมื่ออารมณ์ดีก็ตอบสนองความต้องการลูกได้ แต่ถ้าอารมณ์เสีย จะปิดกั้นลูกและควบคุมอารมณ์ด้านร้ายของตัวเองไม่ได้
กด 😡:
เมื่อคุณร้องไห้ แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘โดนตีให้เงียบ’ คุณมีโอกาสจะเป็นแม่ผู้ ‘เสียการควบคุม’ (Disorganization)
ลักษณะของแม่ผู้เสียการควบคุมทางอารมณ์รู้สึก จะเกิดขึ้นในเวลาที่เกิดความปั่นป่วน ซึ่งแม่ลักษณะนี้มีแนวโน้มที่แม่เองจะทำร้ายเด็กทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพราะเคยถูกกระทำจากผู้ปกครองมาก่อน ในวัยเด็กถูกเข้าหาด้วยความรุนแรง จึงไม่รับรู้ถึงการถูกรักและการได้รับความทะนุถนอมว่าเป็นเช่นไร
นำไปสู่ผลกระทบให้เด็กเกิดภาวะหวาดหวั่นใจได้เสมอ เช่น เด็กที่ถูกเลี้ยงด้วยความกลัว เพราะมีแม่ที่คอยจับผิดลูกตลอดเวลา แม่จะเลี้ยงลูกด้วยคำว่า ‘อย่า!’ ในบางรายของเด็กจะมีพัฒนาการเดินช้า เดินๆ แล้วสะดุดล้มทั้งที่ไม่มีสิ่งใดกีดขวาง และอื่นๆ
กด :
เมื่อคุณร้องไห้ แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘กอดปลอบให้หยุดร้องไห้ด้วยคำพูดอบอุ่น’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้มั่นคง’
แม่ผู้มั่นคง เติบโตมาในครอบครัวที่มีความสัมพันธ์มั่นคง มีคนที่พร้อมจะส่งความปราถนาดีและแสดงออกความรู้สึกอยู่รอบๆ ตัว มีความใกล้ชิดกันอย่างสนิทสนมระหว่างกัน ทำให้ชีวิตในวัยเด็กจะรู้สึกว่าตัวเองถูกรัก จนทำให้มองเห็นความรู้สึกของผู้อื่น
เมื่อเป็นแม่ผู้มั่นคง จะเป็นแม่ที่เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตัวเองและลูกเป็นอย่างดี จะรับรู้ถึงความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลง ไม่ราบรื่น เมื่อผิดพลาดก็รื้อซ่อมความสัมพันธ์เป็น ส่งผลให้เมื่อลูกโตขึ้น จะมีอารมณ์มั่นคง อบอุ่น สานสัมพันธ์กับคนอื่นได้ เมื่อเจอวิกฤตก็แก้ไขให้กลับมาอยู่ในภาวะปกติได้
กด 😢:
เมื่อคุณร้องไห้ แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ปล่อยให้ร้องไห้ต่อไป เพราะเชื่อว่าโอ๋ลูกมากไปไม่ดี’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้เพิกเฉย’ (Avoidance)
ผู้เพิกเฉย เติบโตท่ามกลางการไม่ถูกที่สนใจ จนทำให้แม่ในวัยเด็กไม่พยายามสื่อสารหรือแสดงความรู้สึกออกมา เช่น ไม่ร้องขอ ไม่บอกความรู้สึก ทำตัวเหมือนไม่มีปัญหา ค่อยๆ ตัดความรู้สึกตัวเองไปทีละน้อย วัยเด็กจะมีบุคลิกภาพนิ่งเฉย ไม่ค่อยแสดงความรู้สึก เมื่อโตจะเป็นผู้ใหญ่ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ว่าตัวเองชอบหรือไม่ชอบสิ่งไหน ไม่แสดงออก มีระยะห่าง ลึกๆ แล้วโดดเดี่ยว สานสัมพันธ์กับคนอื่นไม่เป็น
แม่ผู้เพิกเฉยจะเชื่อในเหตุผล มากกว่าความรู้สึกตัวเอง สนใจข้อมูลมากกว่าการสัมผัสโดยตรง มีแนวโน้มเชื่อตำราและองค์ความรู้มากกว่าสัญชาตญาณ จนบางครั้งละเลยการใส่ใจเรื่องอารมณ์ของตัวเองและคนรอบข้างไป เพราะไม่เห็นว่ามีสาระให้จับต้อง
กด 😮:
เมื่อคุณสะดุดล้ม แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘เดินมาอุ้มบ้าง แต่บางครั้งก็ไม่ถูกสนใจ’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ที่วิตกกังวล’ (Anxiety)
แม่ที่วิตกกังวล เติบโตมาจากเด็กที่ขาดการดูแลและไม่ได้รับการตอบสนองที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ ตอนเป็นเด็กจึงมักมีพฤติกรรมชอบตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับผู้ดูแล ว่าความสัมพันธ์นี้ปลอดภัยหรือไม่ ผ่านการสำรวจสีหน้า ท่าที น้ำเสียงของผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดการรับรู้ที่ไวและสร้างความหวาดระแวงไม่ว่าผู้ดูแลจะดีหรือร้ายก็ตาม
แม่ที่วิตกจะใส่ใจความรู้สึกตัวเองเป็นหลัก เมื่ออารมณ์ดีก็ตอบสนองความต้องการลูกได้ แต่ถ้าอารมณ์เสีย จะปิดกั้นลูกและควบคุมอารมณ์ด้านร้ายของตัวเองไม่ได้
กด 😡:
เมื่อคุณสะดุดล้ม แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘โดนทำโทษและขู่ห้ามให้วิ่งอีก’ คุณมีโอกาสจะเป็นแม่ผู้ ‘เสียการควบคุม’ (Disorganization)
ลักษณะของแม่ผู้เสียการควบคุมทางอารมณ์รู้สึก จะเกิดขึ้นในเวลาที่เกิดความปั่นป่วน ซึ่งแม่ลักษณะนี้มีแนวโน้มที่แม่เองจะทำร้ายเด็กทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพราะเคยถูกกระทำจากผู้ปกครองมาก่อน ในวัยเด็กถูกเข้าหาด้วยความรุนแรง จึงไม่รับรู้ถึงการถูกรักและการได้รับความทะนุถนอมว่าเป็นเช่นไร
นำไปสู่ผลกระทบให้เด็กเกิดภาวะหวาดหวั่นใจได้เสมอ เช่น เด็กที่ถูกเลี้ยงด้วยความกลัว เพราะมีแม่ที่คอยจับผิดลูกตลอดเวลา แม่จะเลี้ยงลูกด้วยคำว่า ‘อย่า!’ ในบางรายของเด็กจะมีพัฒนาการเดินช้า เดินๆ แล้วสะดุดล้มทั้งที่ไม่มีสิ่งใดกีดขวาง และอื่นๆ
กด :
เมื่อคุณสะดุดล้ม แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ดูแล กอดปลอบและทำแผลให้’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้มั่นคง’
แม่ผู้มั่นคง เติบโตมาในครอบครัวที่มีความสัมพันธ์มั่นคง มีคนที่พร้อมจะส่งความปราถนาดีและแสดงออกความรู้สึกอยู่รอบๆ ตัว มีความใกล้ชิดกันอย่างสนิทสนมระหว่างกัน ทำให้ชีวิตในวัยเด็กจะรู้สึกว่าตัวเองถูกรัก จนทำให้มองเห็นความรู้สึกของผู้อื่น
เมื่อเป็นแม่ผู้มั่นคง จะเป็นแม่ที่เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตัวเองและลูกเป็นอย่างดี จะรับรู้ถึงความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลง ไม่ราบรื่น เมื่อผิดพลาดก็รื้อซ่อมความสัมพันธ์เป็น ส่งผลให้เมื่อลูกโตขึ้น จะมีอารมณ์มั่นคง อบอุ่น สานสัมพันธ์กับคนอื่นได้ เมื่อเจอวิกฤตก็แก้ไขให้กลับมาอยู่ในภาวะปกติได้
กด 😢:
เมื่อคุณสะดุดล้ม แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ไม่มีใครสนใจ ต้องลุกขึ้นและหายเจ็บเอง’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้เพิกเฉย’ (Avoidance)
ผู้เพิกเฉย เติบโตท่ามกลางการไม่ถูกที่สนใจ จนทำให้แม่ในวัยเด็กไม่พยายามสื่อสารหรือแสดงความรู้สึกออกมา เช่น ไม่ร้องขอ ไม่บอกความรู้สึก ทำตัวเหมือนไม่มีปัญหา ค่อยๆ ตัดความรู้สึกตัวเองไปทีละน้อย วัยเด็กจะมีบุคลิกภาพนิ่งเฉย ไม่ค่อยแสดงความรู้สึก เมื่อโตจะเป็นผู้ใหญ่ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ว่าตัวเองชอบหรือไม่ชอบสิ่งไหน ไม่แสดงออก มีระยะห่าง ลึกๆ แล้วโดดเดี่ยว สานสัมพันธ์กับคนอื่นไม่เป็น
แม่ผู้เพิกเฉยจะเชื่อในเหตุผล มากกว่าความรู้สึกตัวเอง สนใจข้อมูลมากกว่าการสัมผัสโดยตรง มีแนวโน้มเชื่อตำราและองค์ความรู้มากกว่าสัญชาตญาณ จนบางครั้งละเลยการใส่ใจเรื่องอารมณ์ของตัวเองและคนรอบข้างไป เพราะไม่เห็นว่ามีสาระให้จับต้อง
กด 😮:
เมื่อคุณสอบได้ที่1 แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘บางครั้งก็ได้รับคำชื่นชม บางครั้งก็โดนกดดันให้ดีกว่านี้’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ที่วิตกกังวล’ (Anxiety)
แม่ที่วิตกกังวล เติบโตมาจากเด็กที่ขาดการดูแลและไม่ได้รับการตอบสนองที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ ตอนเป็นเด็กจึงมักมีพฤติกรรมชอบตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับผู้ดูแล ว่าความสัมพันธ์นี้ปลอดภัยหรือไม่ ผ่านการสำรวจสีหน้า ท่าที น้ำเสียงของผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดการรับรู้ที่ไวและสร้างความหวาดระแวงไม่ว่าผู้ดูแลจะดีหรือร้ายก็ตาม
แม่ที่วิตกจะใส่ใจความรู้สึกตัวเองเป็นหลัก เมื่ออารมณ์ดีก็ตอบสนองความต้องการลูกได้ แต่ถ้าอารมณ์เสีย จะปิดกั้นลูกและควบคุมอารมณ์ด้านร้ายของตัวเองไม่ได้
กด 😡:
เมื่อคุณสอบได้ที่1 แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ไม่เคยได้รับการชื่นชมและถูกสั่งให้อ่านหนังสือต่อไป ห้ามคะแนนลดลงเด็ดขาด’ คุณมีโอกาสจะเป็นแม่ผู้ ‘เสียการควบคุม’ (Disorganization)
ลักษณะของแม่ผู้เสียการควบคุมทางอารมณ์รู้สึก จะเกิดขึ้นในเวลาที่เกิดความปั่นป่วน ซึ่งแม่ลักษณะนี้มีแนวโน้มที่แม่เองจะทำร้ายเด็กทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพราะเคยถูกกระทำจากผู้ปกครองมาก่อน ในวัยเด็กถูกเข้าหาด้วยความรุนแรง จึงไม่รับรู้ถึงการถูกรักและการได้รับความทะนุถนอมว่าเป็นเช่นไร
นำไปสู่ผลกระทบให้เด็กเกิดภาวะหวาดหวั่นใจได้เสมอ เช่น เด็กที่ถูกเลี้ยงด้วยความกลัว เพราะมีแม่ที่คอยจับผิดลูกตลอดเวลา แม่จะเลี้ยงลูกด้วยคำว่า ‘อย่า!’ ในบางรายของเด็กจะมีพัฒนาการเดินช้า เดินๆ แล้วสะดุดล้มทั้งที่ไม่มีสิ่งใดกีดขวาง และอื่นๆ
กด :
เมื่อคุณสอบได้ที่1 แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ได้รับคำชมและรางวัลเล็กๆ น้อยๆ อย่างสม่ำเสมอ’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้มั่นคง’
แม่ผู้มั่นคง เติบโตมาในครอบครัวที่มีความสัมพันธ์มั่นคง มีคนที่พร้อมจะส่งความปราถนาดีและแสดงออกความรู้สึกอยู่รอบๆ ตัว มีความใกล้ชิดกันอย่างสนิทสนมระหว่างกัน ทำให้ชีวิตในวัยเด็กจะรู้สึกว่าตัวเองถูกรัก จนทำให้มองเห็นความรู้สึกของผู้อื่น
เมื่อเป็นแม่ผู้มั่นคง จะเป็นแม่ที่เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตัวเองและลูกเป็นอย่างดี จะรับรู้ถึงความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลง ไม่ราบรื่น เมื่อผิดพลาดก็รื้อซ่อมความสัมพันธ์เป็น ส่งผลให้เมื่อลูกโตขึ้น จะมีอารมณ์มั่นคง อบอุ่น สานสัมพันธ์กับคนอื่นได้ เมื่อเจอวิกฤตก็แก้ไขให้กลับมาอยู่ในภาวะปกติได้
กด 😢:
เมื่อคุณสอบได้ที่1 แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘เฉยๆ ไม่สนใจและไม่ชื่นชม’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้เพิกเฉย’ (Avoidance)
ผู้เพิกเฉย เติบโตท่ามกลางการไม่ถูกที่สนใจ จนทำให้แม่ในวัยเด็กไม่พยายามสื่อสารหรือแสดงความรู้สึกออกมา เช่น ไม่ร้องขอ ไม่บอกความรู้สึก ทำตัวเหมือนไม่มีปัญหา ค่อยๆ ตัดความรู้สึกตัวเองไปทีละน้อย วัยเด็กจะมีบุคลิกภาพนิ่งเฉย ไม่ค่อยแสดงความรู้สึก เมื่อโตจะเป็นผู้ใหญ่ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ว่าตัวเองชอบหรือไม่ชอบสิ่งไหน ไม่แสดงออก มีระยะห่าง ลึกๆ แล้วโดดเดี่ยว สานสัมพันธ์กับคนอื่นไม่เป็น
แม่ผู้เพิกเฉยจะเชื่อในเหตุผล มากกว่าความรู้สึกตัวเอง สนใจข้อมูลมากกว่าการสัมผัสโดยตรง มีแนวโน้มเชื่อตำราและองค์ความรู้มากกว่าสัญชาตญาณ จนบางครั้งละเลยการใส่ใจเรื่องอารมณ์ของตัวเองและคนรอบข้างไป เพราะไม่เห็นว่ามีสาระให้จับต้อง
กด 😮:
เมื่อคุณอยากฟังนิทานก่อนนอน แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ได้ฟังนิทานบ้างบางครั้ง แต่บางครั้งก็ไม่ถูกสนใจ’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ที่วิตกกังวล’ (Anxiety)
แม่ที่วิตกกังวล เติบโตมาจากเด็กที่ขาดการดูแลและไม่ได้รับการตอบสนองที่เหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ ตอนเป็นเด็กจึงมักมีพฤติกรรมชอบตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับผู้ดูแล ว่าความสัมพันธ์นี้ปลอดภัยหรือไม่ ผ่านการสำรวจสีหน้า ท่าที น้ำเสียงของผู้ดูแล ส่งผลให้เกิดการรับรู้ที่ไวและสร้างความหวาดระแวงไม่ว่าผู้ดูแลจะดีหรือร้ายก็ตาม
แม่ที่วิตกจะใส่ใจความรู้สึกตัวเองเป็นหลัก เมื่ออารมณ์ดีก็ตอบสนองความต้องการลูกได้ แต่ถ้าอารมณ์เสีย จะปิดกั้นลูกและควบคุมอารมณ์ด้านร้ายของตัวเองไม่ได้
กด 😡:
เมื่อคุณอยากฟังนิทานก่อนนอน แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ไม่เคยได้ฟังนิทาน เพราะเสียเวลา แถมยังโดนสั่งให้รีบเข้านอนอีกด้วย’ คุณมีโอกาสจะเป็นแม่ผู้ ‘เสียการควบคุม’ (Disorganization)
ลักษณะของแม่ผู้เสียการควบคุมทางอารมณ์รู้สึก จะเกิดขึ้นในเวลาที่เกิดความปั่นป่วน ซึ่งแม่ลักษณะนี้มีแนวโน้มที่แม่เองจะทำร้ายเด็กทั้งทางร่างกายและจิตใจ เพราะเคยถูกกระทำจากผู้ปกครองมาก่อน ในวัยเด็กถูกเข้าหาด้วยความรุนแรง จึงไม่รับรู้ถึงการถูกรักและการได้รับความทะนุถนอมว่าเป็นเช่นไร
นำไปสู่ผลกระทบให้เด็กเกิดภาวะหวาดหวั่นใจได้เสมอ เช่น เด็กที่ถูกเลี้ยงด้วยความกลัว เพราะมีแม่ที่คอยจับผิดลูกตลอดเวลา แม่จะเลี้ยงลูกด้วยคำว่า ‘อย่า!’ ในบางรายของเด็กจะมีพัฒนาการเดินช้า เดินๆ แล้วสะดุดล้มทั้งที่ไม่มีสิ่งใดกีดขวาง และอื่นๆ
กด :
เมื่อคุณอยากฟังนิทานก่อนนอน แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ได้ฟังนิทานตามความต้องการอย่างสม่ำเสมอ’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้มั่นคง’
แม่ผู้มั่นคง เติบโตมาในครอบครัวที่มีความสัมพันธ์มั่นคง มีคนที่พร้อมจะส่งความปราถนาดีและแสดงออกความรู้สึกอยู่รอบๆ ตัว มีความใกล้ชิดกันอย่างสนิทสนมระหว่างกัน ทำให้ชีวิตในวัยเด็กจะรู้สึกว่าตัวเองถูกรัก จนทำให้มองเห็นความรู้สึกของผู้อื่น
เมื่อเป็นแม่ผู้มั่นคง จะเป็นแม่ที่เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตัวเองและลูกเป็นอย่างดี จะรับรู้ถึงความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนแปลง ไม่ราบรื่น เมื่อผิดพลาดก็รื้อซ่อมความสัมพันธ์เป็น ส่งผลให้เมื่อลูกโตขึ้น จะมีอารมณ์มั่นคง อบอุ่น สานสัมพันธ์กับคนอื่นได้ เมื่อเจอวิกฤตก็แก้ไขให้กลับมาอยู่ในภาวะปกติได้
กด 😢:
เมื่อคุณอยากฟังนิทานก่อนนอน แล้วได้รับการตอบสนองโดยการ ‘ไม่เคยได้ฟังนิทาน เพราะเชื่อว่านิทานเป็นเรื่องไร้สาระ’ คุณมีโอกาสจะเป็น ‘แม่ผู้เพิกเฉย’ (Avoidance)
ผู้เพิกเฉย เติบโตท่ามกลางการไม่ถูกที่สนใจ จนทำให้แม่ในวัยเด็กไม่พยายามสื่อสารหรือแสดงความรู้สึกออกมา เช่น ไม่ร้องขอ ไม่บอกความรู้สึก ทำตัวเหมือนไม่มีปัญหา ค่อยๆ ตัดความรู้สึกตัวเองไปทีละน้อย วัยเด็กจะมีบุคลิกภาพนิ่งเฉย ไม่ค่อยแสดงความรู้สึก เมื่อโตจะเป็นผู้ใหญ่ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ไม่รู้ว่าตัวเองชอบหรือไม่ชอบสิ่งไหน ไม่แสดงออก มีระยะห่าง ลึกๆ แล้วโดดเดี่ยว สานสัมพันธ์กับคนอื่นไม่เป็น
แม่ผู้เพิกเฉยจะเชื่อในเหตุผล มากกว่าความรู้สึกตัวเอง สนใจข้อมูลมากกว่าการสัมผัสโดยตรง มีแนวโน้มเชื่อตำราและองค์ความรู้มากกว่าสัญชาตญาณ จนบางครั้งละเลยการใส่ใจเรื่องอารมณ์ของตัวเองและคนรอบข้างไป เพราะไม่เห็นว่ามีสาระให้จับต้อง