Skip to content
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    SpaceBookMovie
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
eco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่น
Dear ParentsMovie
10 June 2020

Never Have I Ever แม้ไม่ใช้ชีวิตตามความคาดหวังของแม่ แต่ยังอยากได้ยิน ‘แม่ภูมิใจในตัวลูกนะ’

เรื่องและภาพ พิมพ์พาพ์

  • “การเข้าไปเจอนักจิตบำบัดของเดวี่ (ตัวเอกในเรื่อง Never Have I Ever) ทุกครั้งมีความน่าสนใจสำหรับเรามาก เพราะเดวี่และแม่รู้สึกว่า มันไม่จำเป็นที่จะต้องแสดงความเศร้าออกมาหลังจากที่พ่อเสียชีวิต ซึ่งการแสดงออกแบบนั้นทำให้ทั้งสองคนไม่สามารถหลุดพ้นจากความเศร้าได้อย่างแท้จริงเพราะไม่เคยยอมให้ตัวเองพังทลายเพื่อรับรู้และเข้าใจความรู้สึกลึกซึ้งภายใน”
  • “เราเคยไปเจอนักจิตบำบัดที่เปิดไพ่ให้คำปรึกษา คุยกับเขาเรื่องแม่ เราเป็นลูกคนเดียวเหมือนเดวี่และแม่เลี้ยงเรามาคนเดียวด้วย วันนั้นเราโดนยิงคำถามหลายคำถามที่ไม่เคยนึกถึงมาก่อน ได้เจออะไรบางอย่างที่มันไปซ่อนอยู่ที่ไหนมาก็ไม่รู้ แล้วก็ได้น้ำตาแตกกับประโยคที่ว่า ‘เราไม่เคยดีพอสำหรับแม่’ ไม่ว่าจะทำดีแค่ไหน แม่ก็ไม่เคยภูมิใจในตัวเราได้จริงๆ เพราะมันไม่ได้บรรลุเป้าหมายที่เค้าได้ตั้งไว้ ที่เค้าได้คาดหวังในตัวเราเอาไว้”
  • อีกหนึ่งบทความของพิมพ์พาพ์ ที่อ่านจบแล้วเราอยากกลับไปกอดเด็กตัวเล็กๆ ที่ยังอยู่ในความทรงจำของเรา และค้นลึกว่า เรามีเสียงที่ซ่อนไว้แบบนี้อยู่เหมือนกันรึเปล่า เสียงที่ไม่เคยพูดออกไปเพราะกลัวพ่อแม่ไม่ยอมรับ

“นักจิตบำบัดผ่านไพ่” ที่พิมพ์พาพ์กล่าวถึง อ่านได้ที่นี่ค่ะ 🙂

Tags:

เพศซีรีส์พิมพ์พาพ์dear parents

Author & Illustrator:

illustrator

พิมพ์พาพ์

เป็นลูกคนเดียวจากแม่เลี้ยงเดี่ยว เรียกตัวเองว่านักวาดภาพประกอบที่ชอบวาดคนหน้าแมว เผลอเสียน้ำตาให้กับหนังครอบครัวอยู่บ่อยๆ

Related Posts

  • Dear ParentsMovie
    Sex Education: ความเข้าใจเรื่องสิทธิ์เนื้อตัวไม่ได้มาเพราะโชคช่วย ครอบครัวต้องหยุดสร้างทัศนคติ Victim blaming

    เรื่อง พิมพ์พาพ์

  • Movie
    Moxie (2021) หนังที่บอกเราว่าไม่ควรเมินเฉยต่อการถูกแกล้ง ลวนลาม แต่จงลุกขึ้นมาส่งเสียงของตัวเอง

    เรื่อง พิมพ์พาพ์

  • Dear ParentsMovie
    How I met your mother: เมื่อต้องตกลงกันว่าจะส่งต่อความเชื่อของตัวเองสู่ลูก ดีรึเปล่า?

    เรื่อง พิมพ์พาพ์

  • Dear ParentsMovie
    Grace and Frankie: หย่าร้างในวัย 70 การมูฟออนที่ทำให้พบตัวเองอีกครั้งในเวอร์ชันที่ต่างไปจากเดิม

    เรื่องและภาพ พิมพ์พาพ์

  • Dear Parents
    “จะยังรักเหมือนเดิมไหมหากฉันไม่ใช่ลูกสาวอย่างที่ท่านคิด” ขอพื้นที่ส่วนตัวค้นหา(เพศ)ตัวเอง

    เรื่อง ปรียานุช ปรีชามาตย์

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel