Skip to content
ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์
  • Creative Learning
    Life Long LearningUnique SchoolEveryone can be an EducatorUnique TeacherCreative learning
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    21st Century skillsEducation trendLearning TheoryGrowth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building
  • Life
    Life classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy lifeMyth/Life/Crisis
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
ปม(trauma)Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์
Life classroom
17 June 2019

อกหักครั้งนี้ ฉันมีเธอเป็นดั่งครู

เรื่องและภาพ KHAE

เพื่อนอกหัก…จะทำยังไงดี

“เอาเลยแก ร้องออกมา!!”

“หยุดร้องได้ไหม ยังไงเขาก็ไม่กลับมา!!”

“ไม่เป็นไรนะ ฉันอยู่ข้างๆ”

ใครจะคิดว่าช่วงเวลาที่มีแต่ความเศร้า เหงา ซึม ในฐานะผู้ปลอบใจ เราสามารถเรียนรู้หลายๆ อย่างได้ เมื่อเพื่อนตกอยู่ในภาวะอกหัก โดยบางอย่างตำราเรียนก็ไม่เคยสอน

5 สิ่งที่เราเรียนรู้ ผ่านการตกอยู่ในสถานการณ์ที่ปรึกษาเมื่อเพื่อนอกหัก

  1. รับฟังเฉยๆ ไม่สั่งสอน เพราะคนอกหักแค่อยากระบาย
  2. เรียนรู้ว่าสุดท้ายแล้ว ปัญหาเดิมอาจจะกลับมา
  3. อย่าอินเกินไป อย่าจมกับความเศร้า รักเพื่อนแต่ก็ต้องรักตัวเอง รู้ Limit ถอนตัวออกได้
  4. ฉะนั้นไม่ควรให้คำปรึกษาเพื่อนคนเดียว ควรปรึกษากันเป็นกลุ่ม เพื่อแบ่งเบาภาระผู้ฟัง
  5. มองเห็นตัวเองผ่านประสบการณ์ของเพื่อน

นอกจากนี้ เรายังสามารถพัฒนาทักษะการฟังของตัวเองได้จากสถานการณ์เพื่อนอกหักได้ และนำทักษะนี้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รู้เวลาพูด รู้เวลาฟัง และเวลาที่ไม่ไหวจะฟัง ทั้งในบริบทที่ทำงาน การเข้าสังคม หรือในบ้าน

Tags:

วัยรุ่นการฟังและตั้งคำถามการจัดการอารมณ์

Author & Illustrator:

illustrator

KHAE

นักวาดลายเส้นนิสัยดี(ย้ำว่าลายเส้น)ผู้ชอบปลูกต้นไม้และหลงไหลไก่ทอดเกาหลี

Related Posts

  • Creative learning
    ‘สื่อสารเป็น’ วิชาที่เริ่มจากฟังเสียงตัวเอง เข้าใจสุขทุกข์ผู้อื่น ก่อนส่งต่อคำพูดและการกระทำที่ดี: ครูธีรยุทธ พงษ์ศิริยะกุล โรงเรียนปัญญาประทีป

    เรื่อง อภิบาล ว่องวงษ์รักษ์ ภาพ ปริสุทธิ์

  • How to get along with teenager
    เปิดใจ-รับฟัง ช่วยวัยรุ่นแก้ปัญหาอย่างนักจิตวิทยาโรงเรียน

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • EF (executive function)
    ไม่พอใจก็แค่ใส่หูฟังแล้วเปิดเพลงดังๆ ‘การจัดการอารมณ์’ ที่ท้าทายแต่ทำได้ในวัยรุ่น

    เรื่อง

  • Life classroom
    เปลี่ยนโรค เปลี่ยว เหงา ซึมเซา เป็นโลกใหม่: 5 วิธีช่วยให้วัยรุ่นรู้สึกดีกับตัวเอง

    เรื่อง วิภาวี เธียรลีลา

  • Life classroom
    SELF-COMPASSION: ไม่ต้องใจร้ายกับตัวเองมากนักก็ได้วัยรุ่น

    เรื่อง ชลิตา สุนันทาภรณ์

  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts
  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel