Skip to content
Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)
  • Creative Learning
    Everyone can be an EducatorUnique TeacherCreative learningLife Long LearningUnique School
  • Family
    Early childhoodHow to get along with teenagerอ่านความรู้จากบ้านอื่นFamily PsychologyDear Parents
  • Knowledge
    Growth & Fixed MindsetGritEF (executive function)Adolescent BrainTransformative learningCharacter building21st Century skillsEducation trendLearning Theory
  • Life
    Myth/Life/CrisisLife classroomHealing the traumaRelationshipHow to enjoy life
  • Voice of New Gen
  • Playground
    BookMovieSpace
  • Social Issues
    Social Issues
  • Podcasts
Adolescent Brainโฮมสคูลมายาคติการเป็นแม่ชีวิตการทำงานความรู้สึกส่วนหนึ่งของการเรียนรู้การฟังและตั้งคำถามพัฒนาการgeneration gappublic spaceการสื่อสารอย่างสันติ(Nonviolent Communication)ไวรัสโคโรนา(โควิด-19)ปฐมวัยวัยรุ่นeco literacyการศึกษากลุ่มประเทศนอร์ดิกเทคนิคการสอนแบบแผนทางความสัมพันธ์ปม(trauma)
How to get along with teenager
12 January 2019

หน้าที่ของวัยรุ่นคือ ไม่ฟัง

เรื่อง The Potential ภาพ KHAE

แรงบันดาลใจจากบทความ เปิดห้องเรียนพ่อแม่ : นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

ตามหลักพัฒนาการเด็ก 5 ขั้น  วัยรุ่น (12-18 ปี) จะอยู่ในขั้นที่ 5 คือ Identity

วัยรุ่นมาพร้อมกับการค้นหาอัตลักษณ์ (identity) สเต็ปหลังจากนั้นคือการจีบคนรัก (intimacy) ซึ่งไม่จำเป็นต้องผูกขาดไว้แค่หญิงหรือชาย แต่สิ่งที่สำคัญไม่แพ้ 2 ข้างต้นคือ การเข้าแก๊ง เข้ากลุ่ม หาความจงรักภักดี (loyalty)

ปัญหาที่พบบ่อยมากถึงมากที่สุด คือ พูดอะไรก็ไม่ฟัง

“อาการพูดไม่ฟังเป็น ‘หน้าที่’ ของวัยรุ่น ถ้าเขาทำหน้าที่นี้ไม่ได้ เขาจะกลายเป็นบุคคลไม่มีอัตลักษณ์ ไม่รู้จักโต เราเลี้ยงเขามาเพื่อให้ปีกกล้าขาแข็ง” คุณหมอยิ้มใจดีและตอบอย่างใจเย็น

คุณหมอย้ำว่า ตรงข้ามกับการพูดให้ลูกเชื่อฟังหรือสั่งสอน พ่อแม่ควรฟังเรื่องที่ลูกพูด ฝึกฟังให้มาก แม้ไม่เห็นด้วยหรืออะไรที่เขาพูดไม่เข้าท่า ก็ขอให้ฟังไปก่อน ไม่ขัดคอ ไม่ตั้งคำถาม เพราะเมื่อถามจะกลายเป็นซักฟอก

“ถ้าเราฟังเก่งๆ เราจะขออะไรเขาได้บ้าง เช่น กลับมากินข้าว 4 ทุ่มนะจะมีกับข้าวรอ หรือ สอบผ่านก็พอนะ หรือใช้ถุงยางทุกครั้งนะ ขอข้อเดียว อย่างมากสอง เลือกที่ซีเรียสก็พอ อย่าขอเปรอะไปหมด จะไม่ได้สักข้อ”

อดทน รัก และรอ อย่าทำแก้วแตก เขาจะกลับมา….

1

2

3

4

Tags:

พ่อแม่วัยรุ่นพัฒนาการทางอารมณ์

Author:

illustrator

The Potential

กองบรรณาธิการ The Potential

Illustrator:

illustrator

KHAE

นักวาดลายเส้นนิสัยดี(ย้ำว่าลายเส้น)ผู้ชอบปลูกต้นไม้และหลงไหลไก่ทอดเกาหลี

Related Posts

  • How to enjoy life
    ณัฐวุฒิ เผ่าทวี: เศรษฐศาสตร์ความสุขในครอบครัว “ถ้าคนหนึ่งสุขที่สุด แล้วคนอื่นทุกข์อยู่หรือเปล่า”

    เรื่อง ทิพย์พิมล เกียรติวาทีรัตนะรชนีกร ศรีฟ้าวัฒนา

  • Family Psychology
    5 คำขู่ผิดๆ ของพ่อแม่ที่ทำให้เด็กโตมาไม่กล้าและขี้กลัว

    เรื่อง The Potential ภาพ บัว คำดี

  • How to get along with teenager
    ปราบ ‘อสูรร้าย’ ทำลายและทำร้ายใจเด็ก

    เรื่อง The Potential ภาพ BONALISA SMILE

  • Voice of New Gen
    สเตลลา โบลส์ “HELLO, WORLD แม่น้ำสายนี้สกปรกมาก!”

    เรื่อง ลีน่าร์ กาซอ

  • Early childhoodMovie
    THE FLORIDA PROJECT: ดินแดนมหัศจรรย์จะเป็นที่ไหนในโลกก็ได้

    เรื่อง

  • Creative Learning
  • Life
  • Family
  • Voice of New Gen
  • Knowledge
  • Playground
  • Social Issues
  • Podcasts

HOME

มูลนิธิสยามกัมมาจล

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 19 เเขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Cleantalk Pixel